Table of Contents Table of Contents
Previous Page  46 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 46 / 62 Next Page
Page Background

46

นิตยสาร สสวท

ประวัติ ารค้นพบนิวตริโน

นิวตริโนคืออะไร มีความส�

ำคัญอย่างไรกับวงการฟิสิกส์จึงส่งผลให้นักฟิสิกส์ทั้ง 2 ท่านได้รับรางวัลโนเบล และที่

ส�

ำคัญยิ่งกว่านั้นคือ ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับนิวตริโนมีผลกระทบอย่างไรกับชีวิตคนทั่วไป บทความนี้จะให้ค�

ำตอบ

ของค�

ำถามข้างต้นโดยย่อ พร้อมประวัติความเป็นมาของการค้นพบนิวตริโนและการทดลองที่น�

ำไปสู่รางวัลโนเบลสาขา

ฟิสิกส์ประจ�

ำปี 2015

ในปี ค.ศ. 1914 เจมส์ แชดวิก (James Chadwick)

นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษได้ท�

ำการทดลองเกี่ยวกับการสลาย

ของธาตุกัมมันตรังสีและได้พบว่าในกระบวนการสลายแบบ

ให้อนุภาคบีตา (Beta decay) มีพลังงานส่วนหนึ่งหายไป

ซึ่งไม่สอดคล้องกันกับกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม และกฎการ

อนุรักษ์พลังงาน จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1930 โวล์พกัง เพาลี

(Wolfgang Pauli) นักฟิสิกส์ชาวออสเตรียได้เสนอว่า พลังงาน

ส่วนที่หายไปนั้น เนื่องจากมีอนุภาคชนิดใหม่น�

ำพลังงาน

ส่วนนี้ไป อนุภาคดังกล่าวไม่มีประจุและมีมวลน้อยมาก

ซึ่งสมมติฐานของเพาลีได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดีจาก

เอนริโก แฟร์มี (Enrico Fermi) นักฟิสิกส์ชาวอิตาเลียน โดย

แฟร์มีเรียกชื่ออนุภาคชนิดใหม่ที่เพาลีเสนอว่า

“นิวตริโน”

(Neutrino)

ซึ่งในภาษาอิตาลีแปลว่า “ตัวเล็กที่เป็นกลาง” เขียน

แทนด้วยสัญลักษณ์

νµτ

νµτ

_

e

ν

e

_

νν

e

ν

τ

µ

ν

ν

C

146

N

e

+ +ˉ

147

และเรียกปฏิยานุภาคของนิวตริโนว่า

“แอนตินิวตริโน” (Antineutrino)

เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์

νµτ

_

e

ν

_

νν

N

e

+ +ˉ

147

แต่การตรวจวัดเพื่อยืนยันว่านิวตริโนมีอยู่จริงเป็นเรื่องที่

ยากมาก เพราะนิวตริโนแทบไม่มีอันตรกิริยา (Interaction)

กับสสารเกือบทุกชนิด ข้อเสนอของเพาลี จึงยังเป็นเพียงข้อ

เสนอที่ไม่มีการพิสูจน์เป็นระยะเวลากว่า 30 ปี

จนถึงปี ค.ศ 1956 คณะนักฟิสิกส์สัญชาติอเมริกัน

น�

ำโดย ไคลด์ โควาน (Clyde Cowan) และ เฟเดอริก ไรนส์

(Frederick Reines) ได้ตรวจพบแอนตินิวตริโนเป็นครั้งแรก

จากการทดลองที่ออกแบบสุดพิเศษ โดยใช้ถังบรรจุน�้

ขนาดยักษ์ไปติดตั้งไว้ใกล้ๆ กับเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์

ที่รัฐเซาท์แคโรไลนาประเทศสหรัฐอเมริกาการค้นพบแอนตินิวตริโน

ส่งผลให้ ไรนส์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. 1995

ในขณะที่โควานได้เสียชีวิตไปแล้วจึงไม่มีสิทธิรับรางวัล

แอนตินิวตริโนที่โควานและไรนส์ค้นพบ เป็น

“ปฏิยานุภาคของนิวตริโนอิเล็กตรอน” (

ν

νµτ

_

e

ν

e

ν

μ τ

µ

ν

ν

C

146

1

) ส่วนนิวตริโน

อีก 2 ชนิด ได้แก่ “นิวตริโนมิวออน” (

νµτ

νµτ

_

e

ν

_

νν

e

ν

μ τ

µ

ν

ν

C

146

N

e

+ +ˉ

147

) และ “นิวตริโนทาว”

(

νµτ

νµτ

_

e

ν

_

e

ν

_

νν

e

ν

μ τ

µ

ν

ν

C

146

N

e

+ +ˉ

147

) ได้รับการค้นพบในปี ค.ศ. 1962 จากการทดลองที่

ห้องปฏิบัติการแห่งชาติบรู๊คฮาเวน (Brookhaven National

Laboratory) ประเทศสหรัฐอเมริกา และ ในปี ค.ศ. 2000

จากการทดลอง

DONUT

(

D

irect

O

bservation of

the

NU T

au) ที่ห้องปฏิบัติการเครื่องเร่งอนุภาคแห่งชาติแฟร์มี

(Fermi National Accelerator Laboratory) ประเทศสหรัฐอเมริกา

ตามล�

ำดับ

ารค้นพบว่า นิวตริโนเปลี่ยนชนิดได้

ในปีค.ศ. 1996 ที่จังหวัดคามิโอกะ ประเทศญี่ปุ่น

ทีมนักวิจัยที่น�

ำโดย คาจิตะ ได้เริ่มด�

ำเนินการตรวจวัด

นิวตริโน ที่มาจากชั้นบรรยากาศด้วยเครื่องตรวจวัด

Super-K หรือ Super-KamiokaNDE (ย่อมาจาก

Super-Kamioka Nucleon Decay Experiment)

ซึ่งมีส่ วนประกอบหลักคือ ถังน�้

ำขนาดใหญ่ขนาด

เส้นผ่านศูนย์กลาง 39 เมตร สูง 42 เมตร ติดตั้งไว้

ใต้พื้นดินลึกกว่า 1 กิโลเมตร ภายในถังบรรจุด้วยน�้

ำบริสุทธิ์

เป็นพิเศษ (ultra-pure water) ปริมาณกว่า 50,000 ตัน

และที่รอบๆ ผนังด้านในมีการติดตั้งตัวตรวจวัดแสง

กว่า 11,000 ตัว ส�

ำหรับตรวจวัดสัญญาณที่บ่งบอกถึง

อันตรกิริยาระหว่างอะตอมของน�้

ำกับนิวตริโนที่เกิดขึ้น

เมื่อนิวตริโนผ่านเข้ามาในถังน�้

ำ ดังแสดงในรูปที่ 2

รูปที่ 2

ลักษณะภายในของเครื่องตรวจวัดอนุภาคนิวตริโนซุปเปอร์คามิโอคานเดะ

(Super-Kamiokande) ที่จังหวัดคามิโอกะ เมืองฮิดะ ประเทศญี่ปุ่น

(ที่มา:

http://t2k-experiment.org

และ

http://www-sk.icrr.u-tokyo.ac.jp

)