

50
นิตยสาร สสวท
ส� ำหรับหนังสือกา ร์ ตูนวิทยาศาสตร์
ในวรรณคดีล�ำน�ำ เรื่อง ก�ำเนิดพระสังข์ ได้เค้าโครง
เรื่องมาจากเรื่อง การก�ำเนิดผิดคนทั่วไปทั้งหลาย
ในหนังสือเรียนวรรณคดีล�ำน�ำ ระดับชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 5 หนังสือการ์ตูนตอนนี้ ลุงวิทยาจะส่งไม้เอก
เพียงออ กวี และไข่ต้ม ไปท�ำภารกิจช่วยนางจันท์เทวี
หาค�ำตอบว่าลูกของนางเป็นคนหรือหอยสังข์ ผู้เขียน
ได้น�ำเหตุการณ์ต่างๆ มาผนวกเข้ากับความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ในช่วงชั้นประถมศึกษาตอนปลาย เช่น
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เพื่อจะหาค�ำตอบ
ว่า ในชีวิตจริงคนเราจะออกลูกเป็นหอยสังข์ได้หรือไม่
เราสามารถหาค�ำอธิบายได้จากเรื่องนี้
เ นื้อหา ขอ ง ก า ร์ ตูนชุดนี้ เ ต็ม ไ ปด้ วย
จินตนาการ ลายเส้น และสีสันของการ์ตูนจึงมีความเป็น
เอกลักษณ์ที่ส�ำคัญ การ์ตูนแต่ละเล่มยังปลูกฝั ง
คุณธรรม ซึ่งจะเสริมสร้ างนิสัยและทัศนคติที่ดี
ช่วยสร้างนิสัยรักการอ่านและการใช้เวลาว่างให้เป็น
ประโยชน์ นอกจากนี้หนังสือการ์ตูนวิทยาศาสตร์
ในวรรณคดีล�ำน�ำยังส่งเสริมให้นักเรียนมีนิสัยช่างสังเกต
อันเป็นคุณลักษณะที่ส�ำคัญของนักวิทยาศาสตร์
ในส่วนท้ายของแต่ละเล่มมีการเสริมเกร็ด
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในรูปแบบของค�ำถาม และ
ค�ำตอบ เพื่อทบทวนความรู้ ความเข้าใจเนื้อหาทาง
วิทยาศาสตร์ที่ได้จากหนังสือการ์ตูนในตอนนั้นๆ
ซึ่งจะเป็นการสรุปข้อมูลให้กับผู้อ่านได้เข้าใจยิ่งขึ้น
อีกทั้งสามารถน� ำไปใช้ เป็ นกิจกรรมถาม-ตอบ
เพื่อเพิ่มความสนุกให้แก่ผู้อ่าน และชักน�ำให้เด็กๆ ได้
คิดสงสัยถามตลอดเวลา
ส� ำ ห รั บ ก า ร น� ำ ชุ ด ห นั ง สื อ ก า ร์ ตู น
วิทยาศาสตร์ในวรรณคดีล�ำน�ำไปใช้เป็นสื่อการเรียน
การสอน เหมาะส�ำหรับใช้เป็นสื่อเสริมนอกเวลาเรียน
ผู้ที่สนใจสามารถติดตามข่าวสารความคืบหน้าได้จาก
http://primaryscience.ipst.ac.th/การผจญภัยในชุดหนังสือการ์ตูนวิทยาศาสตร์
ในวรรณคดีล�ำน�ำจะสนุกขนาดไหน ต้องติดตามกัน
นะคะ
รูปที่ 6
ปกหน้า-หลังของหนังสือการ์ตูนวิทยาศาสตร์ ในวรรณคดีล�ำน�ำ
เรื่อง ก�ำเนิดพระสังข์
รูปที่ 7
ตัวอย่างฉากในหนังสือการ์ตูนวิทยาศาสตร์ในวรรณคดีล�ำน�ำ
เรื่อง ก�ำเนิดพระสังข์
สาระน่ารู้
ลักษณะของหนังสือสำ�หรับเด็ก
1. เนื้อหามีความเหมาะสมกับวัย ระดับชั้น และความสนใจ
ของเด็ก มีการด�ำเนินเรื่องที่น่าสนใจ สนุกสนาน
2. ส�ำนวนภาษา จะต้องใช้ภาษาง่ายๆ อ่านแล้วสามารถ
เข้าใจความหมายได้ไม่ยาก
3. มีภาพประกอบในหนังสือ ซึ่งจะช่วยเพิ่มความเข้าใจ
ในเนื้อหาและช่วยให้หนังสือสวยงามน่าอ่าน
4. ขนาดและรูปแบบของตัวอักษร ควรเป็นตัวอักษรที่มี
ขนาดเหมาะสม รูปแบบชัดเจน อ่านง่าย
5. จ�ำนวนหน้าของหนังสือ ขึ้นอยู่กับวัยของผู้อ่าน เนื่องจาก
เด็กมีระดับการเรียนรู้และสมาธิที่แตกต่างกัน
6. ปกหน้า-หลังของหนังสือ ควรมีลักษณะสะดุดตา และใช้
กระดาษหนาท�ำปกแข็ง เพื่อความแข็งแรง คงทน
7. ในส่วนท้ายของหนังสือ อาจมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
เรื่องที่อ่าน เช่น ค�ำถาม ค�ำอธิบาย และเกม
บรรณานุกรม
การจัดท�ำรูปเล่มหนังสือส�ำหรับเด็ก ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2559,
จาก
http://academic.obec.go.th/web/doc/d/479พัชราภรณ์ ยี่ใจ. (2554).
การสร้างหนังสือการ์ตูนเพื่อพัฒนาความเข้าใจในการอ่าน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
.
เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของเด็กอายุ 7-15 ปี.
เอกสารรายงาน
ผลการทบทวนวรรณกรรมพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของเด็กอายุ 7-15 ปี. กรุงเทพมหานคร.