Table of Contents Table of Contents
Previous Page  48 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 48 / 62 Next Page
Page Background

การเรียนกระตุ้น

ความคิด

48

นิตยสาร สสวท

หนังสือการ์ตูนวิทยาศาสตร์ในวรรณคดีล�ำน�ำั

งื อ์ ตูนิ ท์ี

ล�ำ �ำ

ที่มาของหนังสือการ์ตูนวิทยาศาสตร์

ในวรรณคดีล�ำน�ำ

ในการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ให้มี

ประสิทธิภาพ จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการน�ำสื่อการเรียนการสอน

มาใช้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจวิทยาศาสตร์ได้ง่ายยิ่งขึ้น และ

เมื่อน�ำมารวมกับแนวความคิดที่ว่า หนังสือการ์ตูนสามารถเพิ่ม

ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ของเด็กได้ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์

การศึกษาภาคบังคับจึงได้ จัดท�ำหนังสือการ์ ตูนวิทยาศาสตร์

ในวรรณคดีล�ำน�ำขึ้นเพื่อเป็นสื่อเสริมนอกเวลาเรียน ซึ่งมีที่มา

จากความต้องการจะบูรณาการความรู้ของวิชาภาษาไทยและ

วิชาวิทยาศาสตร์เข้าด้วยกัน เพื่อช่วยส่งเสริมทักษะการอ่านให้แก่

นักเรียน โดยน�ำนิทานพื้นบ้านและนิทานอีสปจากหนังสือวรรณคดี

ล�ำน�ำในวิชาภาษาไทยมาเชื่อมโยงกับเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์

ซึ่งจะช่วยส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน และเสริมสร้างองค์ความรู้

ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยเน้นวิธีการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา

หนังสือการ์ตูนวิทยาศาสตร์ในวรรณคดีล�ำน�ำที่จัดท�ำขึ้น

เป็นชุด ซึ่งประกอบด้วยหนังสือการ์ตูนทั้งหมด 6 เล่ม ได้แก่ เรื่อง

กระต่ายกับเต่า ราชสีห์กับหนูกระต่ายไม่ตื่นตูม เงาะป่า ก�ำเนิดพระสังข์

และดวงจันทร์ของล�ำเจียก

เด็กวัยประถมศึกษา (อายุ 6-12 ปี)

เป็นวัยที่มีพัฒนาการรวดเร็วไม่ว่าจะเป็นด้าน

ร่างกาย จิตใจ ความคิด หรือการใช้ภาษา ธรรมชาติ

ของเด็กวัยนี้จะสนใจการอ่าน แต่ปัญหาการเรียนรู้

เกี่ยวกับการอ่านของเด็กในปัจจุบัน มักพบว่า

หลังการอ่ านเ ด็กสรุปใจความส� ำคัญไม่ ได้

ตอบค�ำถามจากเรื่องที่อ่านได้ ไม่ตรงประเด็น

และเรียงล�ำดับเหตุการณ์ไม่ ได้ การไม่ เข้ าใจ

ในการอ่านจะส่งผลต่อการเรียนรู้ เนื่องจากภาษาไทย

เป็นสื่อกลางในการสื่อความหมาย ดังนั้น ทักษะ

การอ่านจึงเป็นทักษะที่ส�ำคัญ ผู้ที่มีนิสัยรักการอ่าน

ย่อมเป็นผู้ที่มีความรอบรู้

สิ่งส�ำคัญประการหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริม

การอ่านให้แก่ เด็ก คือ สื่อการเรียนการสอน

ซึ่งจะต้องสามารถเร้าความสนใจ จูงใจให้อยากรู้

อยากอ่าน อย่างสนุกสนาน และใช้เวลาไม่นาน

เกินไป หนังสือการ์ตูนเป็นทางเลือกหนึ่งที่อาจใช้

เป็นสื่อในการพัฒนาทักษะการอ่านให้สามารถ

เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น

เพราะหนังสือการ์ตูนช่วยดึงดูดและ

เร้ าความสนใจของเด็ก ความสะดุดตาของ

หนังสือการ์ตูนจะท�ำให้เด็กมีความกระตือรือร้น

ไม่รู้สึกเบื่อง่าย มีข้อมูลวิจัยซึ่งรายงานว่าหนังสือ

การ์ตูนช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้ดีกว่าการอ่านแบบเรียน

ธรรมดา และการใช้ภาพการ์ตูนเหมาะส�ำหรับใช้น�ำ

เข้าสู่บทเรียน การสรุปบทเรียน และใช้ประกอบ

การเรียน

รูปที่ 1

หนังสือวรรณคดีล�ำน�ำที่ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

ที่มา:

http://www.suksapanpanit.com/index.php?route=product

/

product&product_id=737

รูปที่ 2

หนังสือวรรณคดีล�ำน�ำที่ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ที่มา:

http://www.suksapanpanit.com/index.php?route=product

/

product&path=117_85_104&product_id=751

วิมลมาศ ศรีนาราง • นักวิชาการ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การศึกษาภาคบังคับ สสวท. • e-mail:

wsrin@ipst.ac.th