Table of Contents Table of Contents
Previous Page  43 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 43 / 62 Next Page
Page Background

43

ปีที่ 44 ฉบับที่ 200 พฤษภาคม - มิถุนายน 2559

บรรณานุกรม

เกาะคิวชู. สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2559, จาก

www.japantimeline.jp/th

เกาะคิวชู. สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2559, จาก

www.rmutphysics.com

ท่องเที่ยว. สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2559, จาก

www.thaventure.com

สิน สินสกุล (2547)

แหล่งเรียนรู้ทางธรณีวิทยาในประเทศไทย.

กรุงเทพมหานคร.

"แหล่งเรียนรู้ หินภูเขาไฟ" เบ็ญจวรรณ ศรีเจริญ, สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2559, จาก

http://secondsci.ipst.ac.th/index.php? option=com_content&view=article&id=49:2010-06-29-04-50-27&catid=19:2009-05-04-05-01-56&Itemid=34

ภาพ

น�้ำพุร้อนสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่

ที่มา:

http://yingthai-mag.com/magazine/reader/4623

นี่เป็นเพียงตัวอย่างการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพียง

เล็กน้อยจากประสบการณ์ตรงที่ได้จากการท่องเที่ยวที่

เกาะคิวชู ประเทศไทยของเราก็มีแหล่งท่องเที่ยวที่ให้ความรู้

วิทยาศาสตร์มากมาย และสถานที่เหล่านี้มีความคล้ายคลึง

กับที่ประเทศญี่ปุ่น เช่น ที่ญี่ปุ่นมีดอกซากุระที่งดงาม

ในฤดูใบไม้ผลิ เรามีดอกนางพญาเสือโคร่งซึ่งเป็นพืชสกุลเดียว

กับซากุระ นางพญาเสือโคร่งเป็นพืชดอก ในสกุล Prunus

ที่ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ มีพบทั่วไปบนภูเขา

ตั้งแต่ 1,200 - 2,400 เมตรเหนือระดับน�้ำทะเล เราจะพบ

ดอกพญาเสือโคร่งได้ที่ ภูลมโล จังหวัดเลย ดอยแม่สลอง

จังหวัดเชียงราย ดอยเวียงแหง ดอยอ่างขาง ขุนช่างเคี่ยน

ขุนแม่ยะ จังหวัดเชียงใหม่ (วิกิพีเดีย)

ทางด้านธรณีวิทยา ประเทศไทยเราก็มีแหล่งที่

เคยเป็นภูเขาไฟ ส�ำหรับน�้ำพุร้อนและบ่อน�้ำร้อนในเมืองไทย

ข้อมูลของกรมทรัพยากรธรณีแสดงแหล่งน�้ำพุร้อน 112 แห่ง

กระจายอยู่ทั่วไปทั้งทางภาคเหนือภาคตะวันตกภาคกลาง และ

ภาคใต้ เช่น น�้ำพุร้อนสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ บ่อน�้ำร้อน

ในจังหวัดราชบุรี กาญจนบุรี และบ่อน�้ำร้อนในจังหวัดระนอง

และจังหวัดกระบี่ สถานที่ที่สามารถพบหินภูเขาไฟ ซึ่งจัดเป็น

แหล่งเรียนรู้ที่ครูสามารถพานักเรียน ไปท�ำกิจกรรม เพื่อศึกษา

เกี่ยวกับหินภูเขาไฟได้ชัดเจน และสะดวกได้แก่

1. วัดเมืองเก่าแสนตุ่ม บ้านเขาตาโม๊ะ อ�ำเภอเขาสมิง

จังหวัดตราด

2. อ่าวตาลคู่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดตราด

3. เขากระโดง ต�ำบลเสม็ด อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

4. เขาพนมรุ้ง ต�ำบลตาเป็ก อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ

จังหวัดบุรีรัมย์

5. ภูพระอังคาร อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์

6. เขาหินกลิ้ง อ�ำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี

7. เขาพระพุทธฉาย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี

8. เขาแก้ว อ�ำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์

รายละเอียดและภาพของสถานที่เหล่านี้ผู้สนใจ

สามารถเปิดดูได้ที่

www.ipst.ac.th

การน�ำนักเรียนไปศึกษาตามแหล่งเรียนรู้ทาง

วิทยาศาสตร์ที่อยู่ในแต่ละท้องถิ่น ถ้าครูผู้สอนจัดเตรียม

กิจกรรมและใบงานล่วงหน้าจะท�ำให้นักเรียนได้รับความรู้

จากประสบการณ์ตรงที่ยากจะลืมเลือน ไม่เฉพาะแต่ครูเท่านั้น

ผู้ปกครองที่จะพาบุตรหลานไปท่องเที่ยว ถ้าเตรียมตัวหา

ข้อมูลที่น่าสนใจทางด้านวิทยาศาสตร์ของสถานที่ที่จะไปไว้

ล่วงหน้า จะท�ำให้การท่องเที่ยวในแต่ละครั้ง นอกจากจะได้

ตื่นตาตื่นใจกับสิ่งใหม่ๆแล้ว ยังได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่อยู่

รอบตัวด้วย ทั้งยังเป็นการปลูกฝัง การสังเกต การคิดอย่าง

มีเหตุผล เป็นการช่วยกระตุ้นให้เยาวชนไทยสนใจใฝ่เรียนรู้

ในสาขาวิทยาศาสตร์มากขึ้น