Table of Contents Table of Contents
Previous Page  59 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 59 / 62 Next Page
Page Background

59

ปีที่ 46 ฉบับที่ 214 กันยายน - ตุลาคม 2561

ต่าย แสนซน

"The beautiful thing about learning is that no one

can take it away from you" - B.B. King

"สิ่งที่สวยงามเกี่ยวกับการเรียนรู้ก็คือ ไม่มี ใครเอาสิ่งที่

คุณเรียนรู้ไปจากคุณได้" - B.B. King นักร้องชาวอเมริกัน

ค�ำถาม

ฉบับที่

214

เฉลยค�ำถาม

ฉบับที่

212

จากค�ำถามเกี่ยวกับประโยชน์และโทษของพาราควอต

เช่น พาราควอตมีผลอะไรต่อวัชพืช ท�ำไมจึงนิยมใช้กันมากมาย

นอกจากวัชพืชแล้ว พาราควอตจะส่งผลในแบบเดียวกันกับ

พืชทั่วไปหรือไม่ ผลกระทบที่เกิดจากการใช้พาราควอตที่มีต่อ

สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์มีอะไรบ้าง

ค�ำตอบก็คือ

พาราควอตมีผลไปหยุดและยับยั้ง

การเจริญเติบโตของวัชพืชแบบไม่จ�ำเพาะเจาะจง ออกฤทธิ์

ทันทีที่สัมผัสเซลล์พืชที่มีสีเขียว โดยจะท�ำลายเนื้อเยื่อที่มี

สีเขียวของพืขทุกชนิดที่มาสัมผัสกับสารเคมีโดยตรง ดังนั้น

มันจึงมีผลท�ำให้พืชทุกชนิดตายได้ พาราควอตมีความเป็น

พิษต่อมนุษย์และสัตว์สูง ตกค้างในสิ่งแวดล้อม ในดินได้ดี

ละลายน�้ำได้ง่าย และมีรายงานวิจัยพบว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับ

การก่อให้เกิดโรคพาร์กินสัน ทั้งนี้มีผู้ตอบถูกท่านเดียว คือ

คุณสุพรรษานาสอ้านที่อยู่68/2หมู่1บ้านหนองผือต.หนองผือ

อ.ท่าลี่ จ.เลย ปณ.42140 รอรับรางวัลจากทางทีมงานได้เลยจ้า

จากเรื่องที่ต่ายเล่าให้คุณฟัง คุณคิดว่า อะไร คือ

อุปสรรคส�ำคัญส�ำหรับผู้บริโภค ที่จะปฏิเสธการไม่กินเนื้อสัตว์

ที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเซลล์ในห้องทดลอง ต่ายอยากฟัง

ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้ และข้อดีส�ำหรับการเลิกเลี้ยงสัตว์

ในฟาร์มแล้วหันมาสร้างเนื้อสัตว์ในห้องทดลองคืออะไร ลอง

เขียนมาคุยกันและมีการแจกของรางวัลเช่นเดิม

ส่งค�ำตอบมาให้ต่ายได้ ที่

funny_rabbit@live.co.uk

ภายในวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2562 โดยต้องใส่ที่อยู่ที่จะให้

จัดส่งของรางวัลของคุณมาให้เรียบร้อย และถ้าต้องการให้ต่าย

ส่งสื่อเล็กๆ น้อยๆ จาก สสวท. ไปให้โรงเรียน (นอกเหนือจาก

ของรางวัลที่จะได้รับ) ช่วยเขียนชื่อโรงเรียนมาให้ด้วย เพื่อที่

โรงเรียนจะได้น�ำไปใช้ในการเรียนการสอนได้ ส�ำหรับเฉลย

อ่านได้ในอีก 2 ฉบับหน้า คือฉบับที่ 216 นะจ๊ะ

ก�ำไรและการเติบโตของธุรกิจนี้ ต่ายเชื่อว่าต่อไปเมื่อสิ่งมีชีวิตในทะเลตายหมดเนื่องมาจากถูกจับกิน และที่เหลือก็กินไม่ได้เพราะ

การปนเปื้อนของพลาสติก สุดท้าย มนุษย์ก็ต้องหันไปพึ่งเนื้อสัตว์ที่สร้างจากห้องทดลองนั่นเอง นอกจากนี้ กลุ่มคนที่ไม่กินเนื้อ

สัตว์เนื่องจากไม่ต้องการให้มีการฆ่าสัตว์ ก็อาจจะหันกลับมากินเนื้อสัตว์ที่ได้จากห้องทดลองนี้ด้วยเช่นกัน

จากภาพ 1 ผู้อ่านหลายคนอาจจะคิดท�ำนองเดียวกับ

ต่ายคือ ต่อไปมีแนวโน้มที่มนุษย์น่าจะกินเนื้อสัตว์จากโรงงาน

การเพาะเลี้ยงเนื้อสัตว์เพื่อการแปรรูปในลักษณะนี้ แล้วเมื่อถึง

วันนั้น คุณคิดว่า จะเลือกเนื้อสัตว์แบบเดิม หรือแบบใหม่นี้ เพื่อ

การบริโภค

ภาพ 1

การผลิตเนื้อจากการน�ำเซลล์กล้ามเนื้อที่ได้จากสัตว์ในฟาร์ม ไปเลี้ยงในห้องทดลอง และน�ำมา

พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ในรูปแบบต่างๆ

ที่มา

Gaydhane, M. K., Mahanta, U., Sharma, C. S., Khandelwal, M., & Ramakrishna, S. (2018).

Cultured meat: state of the art and future. Biomanufacturing Reviews, 3(1), 1.)

สัตว์ในฟาร์ม

การตัดชิ้นเนื้อเยื่อ

เซลล์กล้ามเนื้อ

เบอร์เกอร์

ไส้กรอก

ลูกชิ้น

เซลล์

สะเต็มเซลล์

ของตัวอ่อน

สะเต็มเซลล์

ของตัวเต็มวัย

แหล่งสารอาหารส�ำรอง

การเพิ่มจ�ำนวนเซลล์

การรวมกันของเซลล์

ท่อมัดกล้ามเนื้อ

เจริญและพัฒนา

เส้นใยกล้ามเนื้อ

หลังจากหลุดลอกออก

สารอาหารเลี้ยงเซลล์

- สารเร่งให้เจริญ

- โปรตีน

- กรดไขมัน

- ซีรัมจากวัว

แหล่งออกซิเจน

ส�ำรอง