

6
นิตยสาร สสวท
Canada
U.S.
Brazil
Australia
Mexico
2010
England
2015
Wales
2011
France
2016
Morocco
2015
Mauritania
2013
Cameroon
2014
R. Congo
2011
Botswana
2017
Kenya
2017
Ethiopia
2016
India
2002
Bangladesh
2002
Indonesia
2016
China
2008
Myanmar
2009
Eritrea
2005
Chad
2005
Italy
2011
Denmark
2005
Belguim
2007
South Africa
2004
ภาพ 6
ประเทศที่มีมาตรการห้ามใช้หรือเก็บภาษีถุงพลาสติก
ที่มา
http://www.abc.net.au/news/2017-08-28/countries-with-plastic-bag-bans/8850284TYPE OF BAN ประเภทการประกาศห้าม
Full country ban: ห้ามใช้ทั้งประเทศ
Localised bans/partial bans*: ห้ามใช้ในบางพื้นที่
Ban could include jail term**: ห้ามใช้อย่างเด็ดขาดเป็นสิ่งผิดกฎหมาย
Ban not yet implemented/under consideration: อยู่ในระหว่างการพิจารณาห้ามใช้
Tax, charge or other measures instead of lines: ใช้ได้แต่เก็บภาษี หรือ ค่าธรรมเนียม
ปัจจุบันทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้ว ประเทศที่ก�ำลังพัฒนา และประเทศในโลกที่สามได้ให้ความส�ำคัญและพยายาม
แก้ไขและลดปัญหาขยะพลาสติกอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งใช้มาตรการที่หลากหลาย ทั้งห้ามใช้ทุกรูปแบบ ห้ามเพียงบางส่วน
หรือเก็บภาษีถุงพลาสติกประเภทที่ใช้แล้วทิ้ง ซึ่งมีประมาณ 40 ประเทศ เช่น จีน อังกฤษ อิตาลี รวันดา มอริเตเนีย โดยในปี
พ.ศ. 2559 เกาะแนนทักเก็ต หรือ Nantucket ที่รัฐแมสซาชูเซตส์ ในสหรัฐอเมริกา ได้มีการประกาศห้ามใช้ถุงพลาสติก
เป็นแห่งแรก ดังภาพ 6
แนวทางการน�ำขยะพลาสติกมาใช้ให้เป็นประโยชน์ ได้รับการคิดค้นขึ้นโดยบริษัทเอกชนแห่งหนึ่งในประเทศ
สกอตแลนด์ โดยมีวิศวกรที่รู้จักกันในชื่อ โทบี แมคคาร์ทนีย์ ได้ตั้งธุรกิจสตาร์ทอัพที่ใช้ขยะพลาสติกในท้องถิ่นแปรรูปเป็น
เม็ดพลาสติกส�ำหรับใช้เป็นส่วนประกอบในการสร้างถนน โดยมีราคาย่อมเยาและทนทานกว่าถนนทั่วไป โทบี แมคคาร์ทนีย์
เล่าว่า เขาได้แนวคิดเรื่องนี้หลังจากที่ได้เห็นข่าวเกี่ยวกับคนอินเดียน�ำพลาสติกมาเผาเพื่ออุดหลุม บ่อตามท้องถนน จากแนวคิด
ดังกล่าวจึงได้พัฒนากรรมวิธีทางอุตสาหกรรมขึ้นมา โดยปรกติส่วนประกอบของถนนทั่วไป เป็นหิน ทราย หินปูน 90%
และอีก 10% คือยางมะตอยจากการกลั่นน�้ำมันดิบ โดยยางมะตอยท�ำหน้าที่ยึดส่วนผสมทั้งหมดเข้าด้วยกัน แต่ แมคคาร์ทนีย์
บอกว่า บริษัทของเขาใช้เม็ดพลาสติกที่ท�ำจากขยะพลาสติกที่ได้จากครัวเรือน ภาคเกษตรกรรม และภาคธุรกิจมาทดแทน
ยางมะตอย
โครงการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมโลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดให้มี
การรณรงค์ให้ประชาชนทั่วไปมีจิตส�ำนึกในการลดการใช้พลาสติก โดยให้ส่ง Infographic หัวข้อ หมดมลพิษพลาสติก
(End Plastic Pollution) ในวันคุ้มครองโลก (Earth Day 2018) ที่ผ่านมา และมีผู้ให้ความสนใจส่งผลงาน Infographic เข้าร่วมกิจกรรม
มากมาย ดังตัวอย่างในภาพ 7 จึงเห็นได้ว่า ความร่วมมือในการลดการใช้พลาสติกของประชาชนสามารถเกิดขึ้นได้ ถ้าเราสร้าง
ความตระหนักในปัญหาของพลาสติกกันอย่างจริงจังทั่วประเทศ ถึงเวลาแล้วหรือยังที่เราจะให้ความส�ำคัญเรื่องปัญหา
ขยะพลาสติกอย่างจริงจัง