Previous Page  42 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 42 / 62 Next Page
Page Background

42

นิตยสาร สสวท.

สำ

�หรับตอนที่ 1 ผู้เ ขียนขอนำ

� เสนอกิจกรรมไว้

เพียงกา ร ใ ห้นัก เ รียนฝึกทักษ ะ กา รสัง เ กตแล ะ กา ร

อนุมาน และเชื่อมโยงประสบการณ์นั้นกับธรรมชาติ

ขอ ง วิทย า ศ า สตร์ โ ดยฝึกจำ

� แ นกคว า ม แ ตกต่า ง

ร ะ หว่า ง ข้อสัง เ กตแล ะ ข้ออนุมาน แล ะ ใ นตอนที่ 2

ผู้เขียนจะนำ

�เสนอแนวทางในการบูรณาการกิจกรรม

“สี่เหลี่ยมรักษ์ธรรมชาติ” กับวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร แล้วพบกันฉบับหน้าค่ะ

บรรณานุกรม

Bennett, K. (2010). Citizen scientists: Fifth graders work as researchers

on the hunt for an invasive species.

Science and Children, 48

(1),

50-53.

Hanuscin, D. L. & Park Rogers, M. A. (2008). Learning to observe and

infer.

Science and Children, 45

(6), 56-57.

Park Rogers & M. A. (2009). Elementary preservice teachers’ experience

with inquiry: Connecting evidence to explanation.

Journal of

Elementary Science Education, 21

(3), 47-61.

หลังจากนักเรียนทุกคนติดกระดาษโน้ตบนกระดานเรียบร้อยแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและพิจารณาข้อมูล

ของนักเรียนทีละคน โดยพิจารณาว่านักเรียนสามารถจำ

�แนกข้อสังเกตและข้ออนุมานได้ถูกต้องหรือไม่ และสุดท้ายครูและ

นักเรียนสรุปความหมายของข้อสังเกตและข้ออนุมานร่วมกัน

ข้อสังเกต

คือ ข้อมูลดิบเกี่ยวกับปรากฏการณ์หรือสิ่งที่สนใจที่ผู้สังเกตใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการรวบรวมข้อมูล เพื่อ

บรรยายลักษณะของสิ่งที่สนใจ

ข้ออนุมาน

คือ ข้อมูลเกี่ยวกับปรากฏการณ์หรือสิ่งที่สนใจที่สร้างขึ้นจากข้อสังเกต ความคิด ความเห็น และความรู้เดิม

ของผู้อนุมาน

แผนศึกษา “สี่เหลี่ยมรักษ์ธรรมชาติ”

หลังจากที่นักเรียนสร้าง สำ

�รวจ และเก็บข้อมูลเบื้องต้น

เกี่ยวกับ “สี่เหลี่ยมรักษ์ธรรมชาติ” ของตนเองประมาณ

3-4 ครั้ง ให้นักเรียนแลกเปลี่ยนข้อสังเกตและภาพวาด “สี่เหลี่ยม

รักษ์ธรรมชาติ” ของตนกับเพื่อนในกลุ่มเดียวกัน และระดมสมอง

เพื่อตั้งคำ

�ถามที่สมาชิกในกลุ่มสงสัยจากการสังเกตสิ่งมีชีวิตและ

ไม่มีชีวิตใน “สี่เหลี่ยมรักษ์ธรรมชาติ” ของตนเอง โดยให้นักเรียน

แต่ละคนตั้งคำ

�ถามคนละ 2 ข้อ หลังจากนั้นแลกเปลี่ยนและ

อภิปรายในกลุ่มเพื่อเลือกคำ

�ถาม 1 ข้อ ที่คิดว่ากลุ่มของตนเองจะ

ใช้เป็นคำ

�ถามหลักในการศึกษาพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลง

ของธรรมชาติ หลังจากที่นักเรียนแต่ละกลุ่มได้คำ

�ถามหลัก

แล้ว ให้แต่ละกลุ่มระดมสมองเพื่อออกแบบการสืบเสาะ

(investigation) และเก็บข้อมูลเพื่อตอบคำ

�ถามหลัก