Previous Page  37 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 37 / 62 Next Page
Page Background

37

ปีที่ 41 ฉบับที่ 182 พฤษภาคม - มิถุนายน 2556

จากขั้นตอน (2) ถ้าเราเขียน 1 ใหม่ แล้วแทนค่าย้อนกลับ

ขึ้นไปเรื่อย ๆ จะได้

จะเห็นว่า เราสามารถเขียน 1 ในรูปการรวมเชิงเส้นของ 192

และ 7 ได้คือ 1 = 55 . 7 – 2 . 192

ออยเลอร์ฟีฟังก์ชัน (Euler

φ

-function)

สำ

�หรับจำ

�นวนเต็ม n > 1 ให้

φ

(n) แทนจำ

�นวนสมาชิกใน

เซต {1, 2, …, n – 1} ที่เป็นจำ

�นวนเฉพาะสัมพัทธ์กับ n กล่าว

คือเป็นจำ

�นวนของจำ

�นวนเต็ม a ซึ่ง 1 ≤ a ≤ n และ gcd (a, n)

= 1 เช่น ถ้า n = 8 พิจารณาเซต {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} จะพบว่า

gcd (1, 8) = gcd (3, 8) = gcd (5, 8) = gcd (7, 8) = 1

นั่นคือมี a เท่ากับ 1, 3, 5, และ 7 เพียง 4 จำ

�นวนเท่านั้น

ที่เป็นจำ

�นวนเฉพาะสัมพัทธ์กับ 8 ดังนั้น

φ

(8) = 4 เห็นได้ชัด

ว่า ถ้า p เป็นจำ

�นวนเฉพาะแล้ว

φ

(p) = p – 1 เช่น

φ

(11)

= 10 เพราะจำ

�นวนเต็มทุกจำ

�นวนในเซต {1, 2, …, 10} เป็น

จำ

�นวนเฉพาะสัมพัทธ์กับ 11 เรียก

φ

(n) ว่า ออยเลอร์ฟีฟังก์ชัน

ทฤษฎีบทที่สำ

�คัญคือ ถ้า p และ q เป็นจำ

�นวนเฉพาะแล้ว

φ

(pq)

= (p – 1)(q – 1) เช่น ถ้า p = 13 และ q = 17 แล้ว

φ

(pq)

= 12 . 16 = 192 เป็นต้น

จำ

�นวนเต็มมอดุโล n

ให้ a, b และ n เป็นจำ

�นวนเต็มซึ่ง n >1 ถ้า n หาร a – b

ได้ลงตัวแล้ว เราจะกล่าวว่า a คอนกรูเอน (congruence) กับ

b มอดุโล n หรือเขียน a

b (mod n) เช่น

2

5 (mod 3) เพราะ 3 หาร 2 – 5 = –3 ได้ลงตัว หรือ

–7

4 (mod 11) เพราะ 11 หาร –7 – 4 = –11 ได้ลงตัว

เราสามารถพิสูจน์สมบัติ 2 ข้อ ต่อไปนี้ได้ไม่ยากนัก

1. ถ้า a

b (mod n) และ b

c (mod n) แล้ว a

c (mod n)

2. ถ้า a

b (mod n) และ c

d (mod n) แล้ว ac

bc (mod n)

จากสมบัติข้อ 2. ถ้าให้ c = a และ d = b เราได้ a

2

b

2

(mod n) ในกรณีทั่วไป เราสรุปได้ว่า a

k

b

k

( mod n)

สำ

�หรับ k ที่เป็นจำ

�นวนเต็มบวกใด ๆ

ตัวอย่าง 3

เนื่องจาก 5

5

= 3125

31 (mod 221) และจากสมบัติ

ข้อ 2. เราได้

(5

5

)

3

31

3

(mod 221) แต่

31

3

= 29791

177 (mod 221)

จากสมบัติข้อ 1. สรุปได้ว่า (5

5

)

3

177 mod(221) จาก

สมบัติข้อ 2. เราได้

5

17

= (5

5

)

3

. 5

2

177 . 25

4425

5 (mod 221)

ตัวอย่าง 4

จากสมบัติข้อ 1. และข้อ 2. เช่นกัน เราได้

114

5

173 (mod 221) และ 114

55

= (114

5

)

11

173

11

75 (mod 221)

ในกรณีที่เลขชี้กำ

�ลังมีขนาดใหญ่มาก ๆ และใหญ่กว่า n ทฤษฎีบท

ของออยเลอร์มีประโยชน์ต่อการคำ

�นวณเป็นอย่างยิ่ง

ทฤษฎีบทของออยเลอร์ (Euler’s Theorem)

ถ้า gcd

(a, n) = 1 แล้ว a

φ

(n)

1 (mod n)

ดังนั้น ถ้า p เป็นจำ

�นวนเฉพาะซึ่ง gcd (p, a) =1 แล้ว

a

p – 1

1 (mod p) เพราะ

φ

(p) = p – 1

ตัวอย่าง 5

การคำ

�นวณค่า 2

43210

(mod 101) เราทำ

�ได้ดังนี้

เนื่องจาก gcd (101, 2) = 1 ดังนั้น 2

100

1 (mod 101)

และ 2

43210

(2

100

)

432

2

10

1

432

2

10

1024

14 (mod 101)

– 27 . 7)

+ 54 . 7

– 2 . 192

– 2 . 192

2 . 3

2(192

2 . 192

54 . 7)

54) . 7

2 . 192

+

+

7

7

7

(7

(1

55 . 7

=

=

=

=

=

=

1