Previous Page  36 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 36 / 62 Next Page
Page Background

36

นิตยสาร สสวท.

เฉพาะสองจำ

�นวนที่เป็นตัวประกอบของจำ

�นวนเต็มจำ

�นวนหนึ่ง

ที่เลือก ในการสร้างและทำ

�ความเข้าใจระบบดังกล่าว จะต้องมี

ความรู้ทางคณิตศาสตร์ต่อไปนี้

พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ที่ต้องใช้

คณิตศาสตร์ที่ต้องใช้ในการทำ

�ความเข้าใจเรื่องการเข้าและ

ถอดรหัสลับที่จะกล่าวในที่นี้ ได้แก่ การหาตัวหารร่วมมากของ

จำ

�นวนเต็มบวกสองจำ

�นวน ความรู้เรื่องออยเลอร์ฟีฟังก์ชัน และ

ความรู้เรื่องจำ

�นวนเต็ม มอดุโล n พร้อมทั้งทฤษฎีบทที่เกี่ยวข้อง

บางทฤษฎี

ขั้นตอนวิธียุคลิด (Euclidean Algorithm)

ถ้า x และ y

เป็นจำ

�นวนเต็มบวกสองจำ

�นวนที่ไม่ใช่ 0 พร้อมกันแล้ว เราจะ

แทนตัวหารร่วมมากของ x และ y ด้วย gcd (x, y) เราอาจหา

ตัวหารร่วมมาก โดยใช้วิธีแยกตัวประกอบเหมือนที่เคยเรียนใน

ระดับมัธยมก็ได้ เช่น การหาตัวหารร่วมมาก ของ 420 และ 90

เราแยกตัวประกอบของ 420 และ 90 ดังนี้

420 = 2

2

× 3×5×7 และ

90 = 2×3

2

×5

ดังนั้น ตัวหารร่วมมากของ 420 และ 90 คือ 2×3×5 = 30 กล่าวคือ

gcd (90, 420) = 30 นอกเหนือจากวิธีการแยกตัวประกอบแล้ว

ขั้นตอนวิธียุคลิดเป็นกระบวนการสำ

�หรับหาตัวหารร่วมมากของ

จำ

�นวนสองจำ

�นวนที่ใช้ความรู้พื้นฐานเรื่องการหารยาว ในการ

หารยาวเราจะได้ผลหารและเศษ ใช้วิธีหารยาวซ้ำ

�กันไปเรื่อย ๆ

จนกว่าจะได้เศษเป็นศูนย์ ดังนี้

ในแต่ละขั้นตอน เราหารตัวหารในขั้นตอนก่อนหน้านั้นด้วย

เศษ ซึ่งจะทำ

�ให้เศษมีค่าเล็กลงตามลำ

�ดับ ในที่สุดต้องมีค่าเป็น

ศูนย์ กล่าวคือ y > r

1

> r

2

> r

3

> … ≥ 0 ถ้า r

t

เป็นเศษตัว

สุดท้ายที่ไม่ใช่ศูนย์แล้ว gcd (x, y) = r

t

เรียกขั้นตอนการหาตัว

หารร่วมมาก โดยวิธีนี้ว่า ขั้นตอนวิธียุคลิด

ตัวอย่าง 1

จงหา gcd (420, 90)

(1)

420 = 4 . 90 + 60 หาร x = 420 ด้วย y = 90

ได้ผลลัพธ์ q

1

= 4 และเศษ r

1

= 60

(2)

90 = 1 . 60 + 30 หาร y = 90 ด้วย r

1

= 60

ได้ผลลัพธ์ q

2

= 1 และเศษ r

2

= 30

(3)

60 = 2 . 30 หาร r

1

= 60 ด้วย r

2

= 30

ได้ผลลัพธ์ q

3

= 2 และเศษ r

3

= 0

แสดงว่า gcd (420, 90) = 30 = r

2

ซึ่งเป็นเศษตัวสุดท้ายที่

ไม่ใช่ศูนย์ ซึ่งตรงกับค่าที่หาได้ด้วยวิธีแยกตัวประกอบ

จากขั้นตอน (2) ข้างบนนี้ ถ้าเราเขียน 30 ใหม่ แล้วแทนค่า

ย้อนกลับขึ้นไปเรื่อยจะได้

เราได้ 30 = 5 . 90 – 1 . 420

ในกรณีทั่วไป ถ้า gcd (x, y) = d แล้ว เราสามารถเขียน

d ในรูป ax + by = d โดยที่ a และ b คือจำ

�นวนเต็มบาง

จำ

�นวน เรียก d ที่เขียนในรูปแบบนี้ว่า รูปการรวมเชิงเส้นของ

x และ y ในตัวอย่าง 1 จะเห็นว่า gcd (420, 90) = 30 และ

30 = 5 . 90 – 1 . 420 ในที่นี้ a = 5 และ b = –1 ในกรณี

เฉพาะ ถ้า gcd (x, y) = 1 แล้วเราย่อมหา a และ b ซึ่งทำ

�ให้

ax + by = 1 ได้เสมอ

ตัวอย่าง 2

จงหา gcd (192, 7)

(1)

192 = 27 . 7 + 3 หาร x = 192 ด้วย y = 7

ได้ผลลัพธ์ q

1

= 27 และเศษ r

1

= 3

(2)

7 = 2 . 3 + 1 หาร y = 7 ด้วย r

1

= 3

ได้ผลลัพธ์ q

2

= 2 และเศษ r

2

= 1

(3)

3 = 3 . 1 หาร r

1

= 3 ด้วย r

2

= 1

ได้ผลลัพธ์ q

3

= 3 และเศษ r

3

= 0

แสดงว่า gcd (192, 7) = 1 = r

2

ซึ่งเป็นเศษตัวสุดท้ายที่

ไม่ใช่ศูนย์

30 =

=

=

=

=

=

90

90

90

(90

(1

+

+

+

1 . 60

1 . (420

1 . 420

4 . 90)

4) . 90

1 . 420

4 . 90)

4 . 9 0

1 . 420

1 . 420

x

y

r

1

r

t

– 2

r

t-1

=

=

=

=

=

q

1

y + r

1

q

2

r

1

+ r

2

q

3

r

2

+ r

3

q

t

r

t

– 1

+ r

t

q

t+1

r

t

หาร x

หาร y

หาร r

1

หาร r

t –2

หาร r

t –1

ด้วย y

ด้วย r

1

ด้วย r

2

ด้วย r

t – 1

ด้วย r

t

ได้ผลลัพธ์ q

1

ได้ผลลัพธ์ q

2

ได้ผลลัพธ์ q

3

ได้ผลลัพธ์ q

t

ได้ผลลัพธ์ q

t+1

และเศษ r

1

และเศษ r

2

และเศษ r

3

และเศษ r

t

และเศษเป็นศูนย์

5 . 90