Previous Page  53 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 53 / 62 Next Page
Page Background

53

ปีที่ 42 ฉบับที่ 187 มีนาคม - เมษายน 2557

เนื้อหาการอบรมวิชาคณิตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 1 ( ป.1 – ป.3 )

สสวท. ได้จัดกิจกรรมอบรมครูโรงเรียนในโครงการ

พระราชด�

ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ณ ศูนย์ฝึกอบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี

อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร เช่น จัดกิจกรรมอบรม

ครูวิชาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา ในโรงเรียนต�

ำรวจตระเวน

ชายแดน สังกัดกองบัญชาการต�

ำรวจตระเวนชายแดน จ�

ำนวน

176 โรงเรียน ศูนย์การเรียนรู้ต�

ำรวจตระเวนชายแดน จ�

ำนวน

12 ศูนย์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาครูผู้สอนคณิตศาสตร์

ช่วงชั้นที่ 1 ( ป.1 – ป.3 ) ให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักสูตร

การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมเพื่อน�

ำไปใช้ในการจัด

การเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตรและเหมาะสมตาม

สภาพแวดล้อมในชีวิตจริงของแต่ละท้องถิ่น

แนวการพัฒนาทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์

หลักสูตรได้ก�

ำหนดมาตรฐานด้านทักษะ / กระบวนการทาง

คณิตศาสตร์ไว้ ซึ่งจ�

ำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สอนต้องสอนให้ผู้เรียนมีการ

พัฒนาการเรียนรู้ให้ได้มาตรฐานด้านทักษะ / กระบวนการทาง

คณิตศาสตร์ดังต่อไปนี้

(1) การพัฒนาทักษะ / กระบวนการแก้ปัญหา

(2) การพัฒนาทักษะ / กระบวนการให้เหตุผล

(3) การพัฒนาทักษะ / กระบวนการสื่อสาร สื่อความหมาย

ทางคณิตศาสตร์ และการน�

ำเสนอ

(4) การพัฒนาทักษะ / กระบวนการเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ

ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ

(5) การพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

การสอนที่ต้องการให้ผู้เรียนได้กระบวนการเรียนรู้ เกิดทักษะ

ในการแก้ปัญหา ผู้สอนจะต้องสร้างพื้นฐานการเรียนรู้ให้ผู้เรียน

เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับกระบวนการแก้ปัญหา และฝึก

ทักษะในการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหามี 4 ขั้นตอนดังนี้

ขั้นที่ 1 ขั้นท�

ำความเข้าใจปัญหาหรือวิเคราะห์ปัญหา

ขั้นที่ 2 ขั้นวางแผนแก้ปัญหา

ขั้นที่ 3 ขั้นด�

ำเนินการแก้ปัญหา

ขั้นที่ 4 ขั้นตรวจสอบ

การสอนที่ใช้กระบวนการแก้ปัญหา ผู้สอนควรจัดกิจกรรม

ให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างค่อยเป็นค่อยไป และควรเริ่มจากปัญหา

ที่ง่าย ใกล้ตัวผู้เรียนก่อน โดยก�

ำหนดประเด็นปัญหาให้คิด

และหาค�

ำตอบเป็นล�

ำดับเรื่อยไปจนผู้เรียนสามารถหาค�

ำตอบ

ได้ หลังจากนั้นในปัญหาต่อ ๆ ไป ผู้สอนค่อย ๆ ลดค�

ำถามชี้น�

จนสุดท้ายเมื่อเห็นว่าผู้เรียนมีทักษะในการแก้ปัญหาเพียงพอแล้ว

ให้ผู้เรียนแก้ปัญหาด้วยตนเองเมื่อผู้เรียนเข้าใจกระบวนการแก้

ปัญหาแล้ว อาจให้ผู้เรียนฝึกแก้ปัญหาแต่ละปัญหาด้วยวิธีที่

หลากหลาย

1. จ�

ำนวนและการด�

ำเนินการ

2. การวัด

3. เรขาคณิต

4. พีชคณิต

5. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น

6. ทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร์

7. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้คณิตศาสตร์

8. แนะน�

ำการเรียนรู้โดยใช้

The Geometer’s Sketchpad (GSP)

9. การใช้สื่อเทคโนโลยีช่วยในการเรียนรู้

10. การผลิตสื่อการเรียนรู้

11. สาธิตการใช้สื่อและกิจกรรมการสอน

12. การวัดผลและประเมินผล