Previous Page  55 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 55 / 62 Next Page
Page Background

K-2 EbD

TM

TEEMS Technology Starters/KITS N

3-5 EbD

TM

TEEMS I3 KITS

6

Exploring Technology

7

Invention and Innovation

8

Technological Systems

9

Foundations of Technology

10-12

Technology and Society

10-12

Technological Design

11-12

Advanced Design Applications

11-12

Advanced Technical Applications

11-12

Engineering Design (Capstone Course)

55

ปีที่ 42 ฉบับที่ 189 กรกฎาคม - สิงหาคม 2557

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 6Es

นักการศึกษาในกลุ่มที่เรียกว่า Engineering by Design (EbD)

ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสมาคม ITEEA ได้เสนอแนวคิดการจัด

การเรียนรู้แบบ 6Es model คล้ายกับการจัดการเรียนรู้

ของวิทยาศาสตร์ 5Es Model ส�

ำหรับเป็นแนวทางการจัดการ

เรียนรู้ส�

ำหรับกลุ่มวิชาด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ที่มุ่งเน้น

การน�

ำเอาองค์ความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ เช่น วิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ศิลปศาสตร์ มาสร้างสรรค์ชิ้นงาน

หรือเทคโนโลยีผ่านกระบวนการทางวิศวกรรมเพื่อตอบสนอง

ความจ�

ำเป็น (need) หรือความต้องการของมนุษย์(want)

โดยมีขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ดังนี้

1) การกระตุ้นความสนใจ

(Engage)

มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง

ความสนใจให้กับผู้เรียน และท�

ำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการเรียน

บทเรียน มีการกระตุ้น มีความกระตือรือร้นที่จะเริ่มเรียนรู้ ในระหว่างที่

มีส่วนร่วมผู้เรียนจะคิด ประเมิน ใช้ความรู้และประสบการณ์เดิม

เชื่อมกับความรู้ปัจจุบัน เพื่อการตั้งค�

ำถาม และจัดการที่จะท�

กิจกรรมต่อไป

2) การส�

ำรวจตรวจสอบ (Explore)

มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้

ผู้เรียนได้มีโอกาส ที่จะคิดส�

ำรวจหาข้อมูล วัสดุอุปกรณ์ประกอบ

และการสร้างความเข้าใจในการก�

ำหนดหัวข้อหรือประเด็นของตนเอง

3) การอธิบายผล (Explain)

มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้ผู้เรียน

ได้อธิบายหาเหตุและผล ทบทวน ถกเถียงประเด็น หัวข้อ ข้อมูล

หลักฐานต่าง ๆ ที่น�

ำมาประกอบการพิจารณาว่าได้เรียนรู้อะไร

และตัดสินใจว่าคืออะไร

4) การวิศวกรรม (eNGINEER)

มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้

ผู้เรียนได้มีโอกาสในการพัฒนาความรู้และความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง

ในการที่จะประยุกต์เอาหลักการไปสู่การปฏิบัติได้ ท�

ำหรือสร้าง

สิ่งของที่จ�

ำเป็นและ/หรือตามความต้องการของมนุษย์

5) การสร้างความสมบูรณ์ (Enrich)

มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสในการส�

ำรวจลึกลงไปว่า สิ่งที่ได้เรียนรู้ไปนั้น

สามารถเชื่อมโยงไปสู่ความรู้ใหม่หรือเรื่องที่ซับซ้อนขึ้น รวมถึง

สามารถท�

ำให้สิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้นมานั้นมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นได้อีก

6) การประเมินผล (Evaluate)

มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้

ผู้เรียนและครูได้มีโอกาสตัดสินว่าได้เกิดการเรียนรู้อย่างไรบ้าง

ครูสามารถตรวจวินิจฉัย (diagnosis) ในกระบวนการเรียนรู้

ตั้งแต่เริ่มจนถึงขั้นตอนน�

ำเสนอผลงานได้ และผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

ตามผลลัพธ์และมาตรฐานการเรียนรู้ที่ก�

ำหนดในบทเรียนระดับใด

อย่างไรก็ตาม แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบ 6Es ที่กล่าวถึง

ข้างต้นนี้ก็สามารถน�

ำไปใช้ได้ในการจัดการเรียนการสอนทางด้าน

วิทยาศาสตร์โดยเพิ่มเติมเรื่องของการวิศวกรรม โดยอาศัยองค์ความรู้

ด้านวิทยาศาสตร์ที่ได้ส�

ำรวจตรวจสอบมาสร้างสรรค์ผลงาน

โดยใช้กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม (Engineering design

process) ซึ่งจะท�

ำให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างวิทยาศาสตร์

และวิศวกรรมศาสตร์ จนขยายผลเชื่อมโยงไปยังเทคโนโลยี

และคณิตศาสตร์ กลายเป็น STEM ต่อไป

หลักสูตรการเรียนรู้เทคโนโลยีและวิศวกรรมของ EbD

นักการศึกษากลุ่ม Engineering by Design ได้ออกแบบ

กิจกรรมการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์โดยอิงจาก

กรอบมาตรฐานการศึกษาเทคโนโลยี (Standards for Technological

Literacy, 2007) จัดเป็นหลักสูตรเพื่อการพัฒนาครูส�

ำหรับ

ระดับชั้นต่าง ๆ และเพื่อเป็นแนวทางให้โรงเรียนสามารถน�

ำไปใช้

เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างอิสระ โดยแบ่งหลักสูตร

ตามระดับชั้นของผู้เรียนตั้งแต่ K – 12 ดังมีหัวข้อหลักสูตร ต่อไปนี้