

1) การสืบเสาะหาความรู้แบบยืนยัน (Confirmed Inquiry)
เป็นการสืบเสาะหาความรู้ที่ให้นักเรียนเป็นผู้ตรวจสอบความรู้
หรือแนวคิด เพื่อยืนยันความรู้หรือแนวคิดที่ถูกค้นพบมาแล้ว
2) การสืบเสาะหาความรู้แบบน�
ำทาง (Directed Inquiry)
เป็นการสืบเสาะหาความรู้ที่ให้นักเรียนค้นพบองค์ความรู้ใหม่
ด้วยตนเอง โดยครูเป็นผู้ก�
ำหนดปัญหา และสาธิตหรืออธิบาย
การส�
ำรวจตรวจสอบ แล้วให้นักเรียนปฏิบัติการส�
ำรวจตรวจสอบ
ตามวิธีการที่ก�
ำหนด
3) การสืบเสาะหาความรู้แบบชี้แนะ (Guided Inquiry)
เป็นการสืบเสาะหาความรู้ที่ให้นักเรียนค้นพบองค์ความรู้ใหม่
ด้วยตนเอง โดยนักเรียนเป็นผู้ก�
ำหนดปัญหา และครูเป็นผู้ชี้แนะ
แนวทางการส�
ำรวจตรวจสอบ รวมทั้งให้ค�
ำปรึกษาหรือแนะน�
ำ
ให้นักเรียนปฏิบัติการส�
ำรวจตรวจสอบ
4) การสืบเสาะหาความรู้แบบเปิด (Open Inquiry)
เป็นการสืบเสาะหาความรู้ที่ให้นักเรียนค้นพบองค์ความรู้ใหม่
ด้วยตนเอง โดยให้นักเรียนมีอิสระในการคิด เป็นผู้ก�
ำหนดปัญหา
ออกแบบ และปฏิบัติการส�
ำรวจตรวจสอบด้วยตนเอง
การแบ่งการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะออกเป็น4 ระดับนี้เปรียบ
เสมือนการก้าวขึ้นบันได 4 ขั้น ช่วยท�
ำให้ครูมองเห็นภาพว่า
ครูสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะเป็น 4
รูปแบบตามจุดประสงค์ของกิจกรรมและเป้าหมายของครู
แต่ในทางปฎิบัติ ครูอาจยังคงพบปัญหาในการเลือกระดับที่
เหมาะสมกับห้องเรียนของตน หรือ ครูจะออกแบบกิจกรรม
การเรียนรู้เพื่อก้าวขึ้นบันไดแต่ละขั้นไปได้อย่างไร อีกประเด็นหนึ่ง
ที่ส�
ำคัญก็คือ การจัดการเรียนรู้แบบบันได 4 ขั้นนี้อาจจะเป็นการ
ช่วยย�้
ำความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่เชื่อว่า การจัดการเรียนรู้แบบ
สืบเสาะหาความรู้แบบเปิด หรือ การจัดการเรียนรู้แบบ
สุดโต่ง
นี้ เป็ นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ที่ดีที่สุดที่ทุกห้ องเรียน
วิทยาศาสตร์ควรจะปฏิบัติตาม แนวคิดหนึ่งที่อาจช่วยขจัดปัญหา
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ
และช่วยให้ผู้สอนเชื่อมโยงทฤษฎีสู่การปฏิบัติจริงก็คือแนวคิด
การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะแบบต่อเนื่อง (Inquiry
Continuum)
4
นิตยสาร สสวท.
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนอีกแบบหนึ่งที่พบในครูวิทยาศาสตร์
เป็นความเข้าใจที่ตรงกันข้ามกับความคลาดเคลื่อนแบบ
น้อยไป
นั่นก็คือ ความคลาดเคลื่อนที่อยู่ในรูปแบบ
มากไป
หรือ
สุดโต่ง
ความเข้าใจแบบนี้คือการที่ครูเข้าใจว่าห้องเรียนแบบสืบเสาะคือ
ห้องเรียนที่กระบวนการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ด้วยตัวนักเรียนเอง
ทั้งหมด นั่นหมายความว่าครูจะท�
ำหน้าที่เป็นผู้สังเกตการณ์ หรือ
ยืนอยู่ห่าง ๆ คอยช่วยเหลือเฉพาะเวลาที่นักเรียนต้องการเท่านั้น
การจัดการเรียนรู้แบบนี้ นักเรียนจะเป็นผู้ก�
ำหนดทิศทางของ
ห้องเรียนและด�
ำเนินการหาความรู้ทุกอย่างด้วยตัวนักเรียนเอง
ซึ่งนักเรียนจะเป็นผู้ตั้งค�
ำถามที่นักเรียนสนใจด้วยตัวเอง จากนั้น
นักเรียนต้องออกแบบวิธีการหาค�
ำตอบของค�
ำถามเหล่านั้นด้วยตัวเอง
อาจจะอยู่ในรูปแบบของการท�
ำการทดลอง หรือการค้นคว้าหาข้อมูล
จากนั้นนักเรียนก็ต้องเก็บข้อมูล ประมวลผลการทดลองหรือ
ข้อมูลที่ได้ออกมาเป็นองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ช่วยตอบ
ค�
ำถามแรกเริ่มนั้น จากความเข้าใจคลาดเคลื่อนในการจัด
การเรียนรู้แบบ
สุดโต่ง
นี้จะพบว่าครูจะมีบทบาทน้อยมากในห้องเรียน
ท�
ำให้ครูมองห้องเรียนแบบสืบเสาะเป็นห้องเรียนที่เกิดขึ้นได้จริงยาก
หรืออาจเกิดขึ้นได้เฉพาะในอุดมคติเท่านั้น จนท�
ำให้ครูท้อแท้
เพราะมองไม่ เห็นทางว่ าจะจัดการห้องเรียนและควบคุม
พฤติกรรมของนักเรียนของตนอย่างไรให้เกิดการเรียนรู้ได้จริงเมื่อ
ต้องยกความรับผิดชอบทุกอย่างให้กับนักเรียน
ความหลากหลายของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ
ความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ
ที่กล่าวมาข้างต้นทั้งที่อยู่ในรูปแบบมากไปหรือน้อยไป มีส่วน
ส�
ำคัญมากที่ท�
ำให้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะในห้องเรียน
ไม่ประสบความส�
ำเร็จเท่าที่ควร ในความเป็นจริงแล้วการจัดการ
เรียนรู้แบบสืบเสาะมีหลากหลายรูปแบบ ที่ผ่านมามีการน�
ำเสนอ
แนวคิดความหลากหลายของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ
โดยแบ่งออกเป็น 4 ระดับ (สสวท, 2549) คือ