

7
ปีที่ 42 ฉบับที่ 190 กันยายน- ตุลาคม 2557
ปัจจัยที่ส�
ำคัญของ แนวคิดการจัด
การเรียนรู้แบบสืบเสาะแบบต่อเนื่อง คือ
การมีอิสระในการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
กิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนแยกออก
เป็น 5 ส่วน ตาม 5 คุณลักษณะที่จ�
ำเป็น
ของห้องเรียนแบบสืบเสาะ แต่ละส่วน
แบ่งออกเป็นเฉดสีของความต่อเนื่องของ
ห้องเรียนแบบสืบเสาะและมีอิสระต่อกัน
ครูจึงสามารถผสมผสานกิจกรรมการเรียนรู้
แต่ละเฉดสีเข้าด้วยกันให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้สอนและความเหมาะสม
ของห้องเรียน เช่น ครูอาจเลือกที่จะเป็น
ผู้ก�
ำหนดค�
ำถามให้นักเรียนศึกษา (ขั้นที่ 1)
แต่เปิดโอกาสให้นักเรียนออกแบบการ
ทดลอง แนวทางในการศึกษาเพื่อตอบ
ค�
ำถามนั้นเอง (ขั้นที่ 4) หลังจากที่เก็บ
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องแล้ว ครูก็เปิดโอกาสให้
นักเรียนสร้างค�
ำอธิบายจากหลักฐานที่มี
อยู่โดยมีครูเป็นผู้ช่วยแนะน�
ำ (ขั้นที่ 3)
เป็นต้น การมีอิสระในการจัดการเรียนรู้
ตาม 5 คุณลักษณะที่จ�
ำเป็นของห้องเรียน
แบบสืบเสาะนี้ ท�
ำให้การจัดการห้องเรียน
แบบสืบเสาะไม่ถูกจ�
ำกัดให้เป็นบันได
เพียง 4 ขั้นอีกต่อไป แต่ครูกลับมีตัวเลือก
อีกไม่จ�
ำกัดในการผสมผสานแต่ละเทคนิค
วิธีเข้าด้วยกันให้เหมาะสมกับห้องเรียน
ของตน
วิธีการเลือกระดับการจัดการเรียนรู้แบบ
สืบเสาะแบบต่อเนื่อง
การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะแบบ
ต่อเนื่องมีหลายระดับซึ่งแต่ละระดับก็มี
คว าม เ หมา ะสมกับสถานกา รณ์ ใ น
ห้องเรียนที่ต่างกันไป แน่นอนว่าในทาง
ทฤษฎี หรือ ในห้องเรียนอุดมคติ อาจถือ
ได้ว่าห้องเรียนแบบสืบเสาะระดับที่ 4
(Open Inquiry) ที่นักเรียนเป็นผู้ก�
ำหนด
แนวทางของห้องเรียนด้วยตัวนักเรียน
ทั้งหมด เป็ นห้ อง เรียนที่ดีที่สุดของ
การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ แต่ในทาง
ปฏิบัติห้องเรียนสืบเสาะระดับนี้อาจส่งผลเสีย
มากกว่าผลดีต่อนักเรียนและครูเอง หากมี
การน�
ำไปใช้ในสถานการณ์ที่ไม่หมาะสม
ดังนั้นในห้ อง เรียนแบบสืบเสาะที่มี
การจัดการเรียนรู้ที่
ยืดหยุ่น
เหมาะสม
และ
ท้าทาย
กับนักเรียนและครูต่างหาก
ที่ถือว่าเป็น
ห้องเรียนที่ดีที่สุด
ห้องเรียนที่มีการจัดการเรียนรู้แบบ
สืบเสาะได้ดีที่สุดจะต้องประกอบไปด้วย
หลักส�
ำคัญ 3 ประการ คือ
1. ความยืดหยุ่น
หมายถึงการผสมผสาน
ห้องเรียนแบบสืบเสาะระดับต่างๆ เข้าด้วยกัน
ตามแนวคิดเรื่องการจัดการเรียนรู้แบบ
สืบเสาะแบบต่อเนื่อง ซึ่งได้เปิดโอกาสและ
ให้อิสระทางความคิดแก่ครูมากขึ้นใน
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ให้
สอดคล้ องกับความต้ องการและจุด
ประสงค์ของห้องเรียนในขณะใดขณะหนึ่ง
2. ความเหมาะสม
หมายถึง กิจกรรม
ที่ จั ด ขึ้ นต้ อ ง เ หม า ะ ส ม กับค ว า ม รู้
ความสามารถของทั้งครูและนักเรียนใน
ขณะนั้น ๆ อีกทั้งยังต้ อง เหมาะสม
กับเนื้อหา และเหมาะสมกับเวลาที่ก�
ำหนด
3. ความท้าทาย
หมายถึง การที่ครูไม่
เลือกที่จะย�่
ำอยู่กับที่ หรือ เลือกที่จะใช้
เฉพาะกิจกรรมที่ครูและนักเรียนคุ้นเคย
และสามารถท�
ำได้ดีแล้ว ดังนั้นครูต้องใส่
ความท้าทายลงไปในตัวกิจกรรมทีละนิด
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของทั้งครูและ
นักเรียนด้วย เช่น ส�
ำหรับครูและนักเรียน
ที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการเรียนรู้แบบ
สืบเสาะหรือครูและนักเรียนที่คุ้นเคยกับ
การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์แบบบอก
ความรู้ นักเรียนอาจยังไม่มีทักษะใน
การออกแบบการทดลอง หรือประมวล
ข้อมูลออกมาเป็นหลักฐาน ครูก็อาจยัง
ไม่มีทักษะในการใช้ค�
ำถามเพื่อกระตุ้นให้
นักเรียนเกิดกระบวนการคิด หรือเพื่อชี้น�
ำ
ห้องเรียน เป็นที่แน่นอนว่าการจัดการ
เรียนรู้แบบสืบเสาะระดับที่ 4 จะส่งให้
การจัดการ เรียนรู้ ไม่ มีประสิทธิผล
กิจกรรมการเรียนรู้ อาจสะเปะสะปะ
ไร้ทิศทาง ซึ่งในที่สุดจะส่งผลเสียต่อการ
เรียนรู้ของนักเรียน และอาจส่งผลเสียต่อ
ความมั่นใจของครูเองในการจัดการเรียน
การสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะในครั้ง
ต่อ ๆ ไป