Previous Page  6 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 6 / 62 Next Page
Page Background

ลักษณะจ�

ำเป็นของห้องเรียนแบบสืบเสาะ

ความหลากหลายของห้องเรียน

น้อย การมีส่วนร่วมของนักเรียน มาก

มาก ก�

ำหนดแนวทางโดยครูหรือหนังสือ น้อย

นักเรียนมีความสนใจใน

ค�

ำถามเชิงวิทยาศาสตร์

ค�

ำถามถูกก�

ำหนดโดยครูหรือ

หนังสือเรียน

นักเรียนปรับปรุงค�

ำถามที่

ก�

ำหนดให้

นักเรียนเลือกค�

ำถามจาก

รายการค�

ำถามที่ก�

ำหนดให้ นักเรียนเป็นผู้ตั้งค�

ำถาม

นักเรียนให้ความส�

ำคัญกับ

หลักฐานที่ใช้ตอบค�

ำถาม

ข้อมูลและวิธีการวิเคราะห์

ข้อมูลถูกก�

ำหนดให้โดยครู

ครูให้ข้อมูลแล้วให้นักเรียน

วิเคราะห์

ครูเป็นผู้แนะน�

ำว่าข้อมูลใดที่

นักเรียนต้องเก็บ

นักเรียนเป็นผู้วางแผนและ

ตัดสินใจว่าข้อมูลใดบ้างที่ส�

ำคัญ

นักเรียนสร้างค�

ำอธิบายจาก

หลักฐานที่มีอยู่

หลั ก ฐ า น แ ล ะ ค�

ำ อ ธิ บ า ย

ถูกก�

ำหนดโดยครู

ผู้สอนบอกวิธีที่เป็นไปได้ที่

นักเรียนจะใช้หลักฐานในการ

สร้างค�

ำอธิบาย

นักเรียนสร้างค�

ำอธิบายจาก

หลักฐานที่มีอยู่โดยมีครูเป็น

ผู้ช่วยแนะน�

นักเรียนสร้างค�

ำอธิบายหลัง

จากสรุปหลักฐานที่ปรากฏ

นักเรียนเชื่อมต่อค�

ำอธิบาย

เข้ากับหลักการ ความรู้ทาง

วิทยาศาสตร์

ครูเชื่อมโยงค�

ำอธิบายเข้ากับ

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์

ครูเสนอแนวทางที่เป็นไปได้

ในการเชื่อมโยงค�

ำอธิบายเข้า

กับความรู้ทางวิทยาศาสตร์

ครูแนะน�

ำสื่อหรือองค์ความรู้

ทางวิทยาศาสตร์ที่นักเรียน

สามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้ที่ได้

นักเรียนค้นคว้าความรู้ทาง

วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องแล้ว

เชื่อมโยงค�

ำอธิบายเข้ากับความ

รู้ทางวิทยาศาสตร์ด้วยตัวเอง

นักเรียนสื่อสารและแสดงให้

เห็นถึงความสมเหตุสมผล

ของค�

ำอธิบาย

ครูก�

ำหนดวิธีการน�

ำเสนอ

และสื่อสารองค์ความรู้

ครูให้แนวทางในการน�

ำเสนอ

และ สื่อสาร ความรู้อย่างคร่าว ๆ

นักเรียนเป็นผู้ก�

ำหนดวิธีการน�

เสนอและสื่อสารองค์ความรู้

โดยมีครูเป็นผู้ช่วยน�

ำทาง

นักเรียนเป็ นผู้ ก�

ำหนดวิธี

การน�

ำเสนอและ สื่อสารองค์

ความรู้อย่างสมเหตุสมผล

แปลและเรียบเรียงจาก National Research Council Inquiry and the National Science Education Standards

Washington D.C.: National Academy Press, 2000

ค�

ำถามที่จะใช้ในการจัดการเรียนรู้สามารถแบ่งเป็น 4 ระดับ

เริ่มตั้งแต่

ระดับที่ 1. ครูเป็นผู้ก�

ำหนดค�

ำถามหรือ ใช้ค�

ำถามที่ปรากฏ

อยู่แล้วในหนังสือเรียน ในการสืบเสาะหาความรู้

ระดับที่ 2. ครูก�

ำหนดค�

ำถาม ที่จะใช้ในกระบวนการสืบเสาะ

ในห้องเรียนแล้วให้โอกาสกับนักเรียนในการจะปรับปรุง แก้ไข

ค�

ำถามที่ครูก�

ำหนด

ระดับที่ 3. ครูเป็นผู้ก�

ำหนดค�

ำถามหลาย ๆ ค�

ำถามที่จะใช้ใน

ห้องเรียน แล้วให้นักเรียนเป็นผู้ตัดสินใจเลือกค�

ำถามที่ต้องการศึกษา

ระดับที่ 4. นักเรียนตั้งค�

ำถามที่จะใช้ในห้องเรียน

ประเด็นส�

ำคัญที่ควรท�

ำความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดนี้คือ

ถึงแม้ว่าห้องเรียนสืบเสาะแบบต่อเนื่อง จะแบ่งคุณลักษณะ

ที่จ�

ำเป็นของห้องเรียนแบบสืบเสาะในแต่ละข้อออกเป็น 4 ระดับ

คล้ายกับแนวคิดบันได 4 ขั้นที่ได้กล่าวมาแล้ว แต่จริง ๆ แล้ว

แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะแบบต่อเนื่องอาจจะมีอีก

หลายระดับที่เชื่อมอยู่ระหว่างกลางเปรียบได้กับเฉดสี เช่น อาจมี

ระดับ 3.5 แทรกกลางระหว่าง ขั้นที่ 3 และ 4 ซึ่งครูอาจ

จะเป็นผู้ก�

ำหนดค�

ำถามหลาย ๆ ค�

ำถามให้นักเรียนเลือก เมื่อเลือก

ค�

ำถามที่สนใจแล้วก็เปิดโอกาสให้ดัดแปลง ปรับปรุงค�

ำถามนั้น ๆ

หรือ อาจจะเป็นระดับที่ 3.8 ที่ถือว่าครูเป็นส่วนหนึ่งของสังคม

การเรียนรู้ดังนั้นจึงเปิดโอกาสให้ทั้งครูและนักเรียนช่วยกัน

ตั้งค�

ำถามที่สนใจที่จะศึกษาแล้วเลือกค�

ำถามที่นักเรียนสนใจ

และมีความเป็นไปได้ที่จะท�

ำการศึกษาในห้องเรียน ดังนั้นค�

ำถาม

ที่ได้อาจจะมาจากนักเรียน หรือ ครูก็ได้เมื่อครูเข้าใจในแนวคิดนี้

แล้วการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะจะได้ไม่ถูก

จ�

ำกัดอยู่แค่ 4 ระดับ แต่ครูสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้

ที่มีความหลากหลายมากขึ้นโดยค�

ำนึงถึงจุดเชื่อมโยงอีกหลาย ๆ

จุดที่อยู่ระหว่างบันไดทั้ง 4 ขั้นนั้นของทั้ง 5 คุณลักษณะที่จ�

ำเป็น

ของห้องเรียนแบบสืบเสาะ

ตารางแสดง ความหลากหลายของห้องเรียนตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะแบบต่อเนื่อง

6

นิตยสาร สสวท.