

สืบเสาะอย่ างสมบูรณ์ แล้ ว โดยลืมค�
ำนึงถึงด้ านอื่น ๆ
ของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่มีความส�
ำคัญยิ่งหย่อนไม่แพ้กัน
และแบบ
สุดโต่ง
ที่มองว่าห้องเรียนแบบสืบเสาะคือห้องเรียนที่ครู
ยกความรับผิดชอบทุกอย่างให้แก่นักเรียน โดยคาดหวังว่า
นักเรียนจะเรียนรู้ได้โดยไม่ต้องอาศัยครู ความเข้าใจคลาดเคลื่อน
ดังกล่าวเป็นอุปสรรคส�
ำคัญในการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะให้
ประสบความส�
ำเร็จในห้องเรียน แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียน
รู้แบบสืบเสาะแบบต่อเนื่องอาจช่วยให้ครูมองภาพห้องเรียนแบบ
สืบเสาะในมุมมองที่เปลี่ยนไป ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ
แบบต่อเนื่องนี้จะช่วยให้ผู้สอนเข้าใจมากขึ้นว่ากิจกรรมใน
ห้องเรียนแบบสืบเสาะมีความหลากหลายมาก เปรียบได้กับเฉดสี
รองต่าง ๆ ที่มีมากกว่า 7 สีหลักของรุ้งกินน�้
ำ
อีกทั้งแนวคิดนี้ยังยืดหยุ่นและเปิดโอกาสให้ครูมีอิสระเพิ่ม
ขึ้นในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งขึ้นอยู่กับการก�
ำหนด
แนวทางโดยครูหรือการมีส่วนร่วมของนักเรียน โดยไม่ถูกตีกรอบ
ว่าจะต้องสร้างกิจกรรมให้สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้แบบ
สืบเสาะระดับใดระดับหนึ่งเท่านั้น อีกทั้งครูมีอิสระมากขึ้นในการ
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้หมาะสมและท้าทายความ
สามารถของทั้งครูและนักเรียน เพื่อช่วยให้นักเรียนมีความเข้าใจ
ในเนื้อหา ทักษะ กระบวนการ และแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
บรรณานุกรม
National Research Council. (2000).
Inquiry and the National Science Education Standards:
A guide for teaching and learning.
Washington, DC: National Academies Press.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2549).
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการเผยแพร่
ขยายผล และอบรมรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
เพื่อพัฒนากระบวนการคิดระดับสูง.
กรุงเทพมหานคร.
8
นิตยสาร สสวท.
ดังนั้นถ้าครูและนักเรียนที่ยังไม่คุ้นเคยกับกระบวนการ
จัดการเรียนรู้แบบนี้ ก็ควรเริ่มที่ระดับเริ่มต้นก่อน โดยที่ครูมีส่วน
ก�
ำหนดแนวทางในการจัดการเรียนรู้ค่อนข้างมาก เพื่อให้ครูยัง
พอมีความมั่นใจและสบายใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดย
ไม่ท�
ำให้ตัวครูเองและนักเรียนตื่นตระหนกเกินไป อีกทั้งยังเป็น
การค่อย ๆ สร้างประสบการณ์ให้กับทั้งครูและนักเรียน เมื่อครู
และนักเรียนเริ่มคุ้นเคยก็ปรับไปสู่ระดับที่สูงขึ้น โดยเพิ่มความ
ท้าทายเข้าไปในกิจกรรมทีละนิด ทีละคุณลักษณะที่จ�
ำเป็นของ
ห้องเรียนแบบสืบเสาะ ตามแนวคิดของการจัดการเรียนรู้แบบ
สืบเสาะแบบต่อเนื่อง จนในที่สุดเมื่อครูและนักเรียนมีประสบการณ์
มากขึ้น ครูก็เริ่มปรับกิจกรรมให้ท้าทายความสามารถของทั้ง
นักเรียนและครูมากยิ่งขึ้น นักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการก�
ำหนด
ทิศทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนมากขึ้น ด้วยแนวคิดนี้
ห้องเรียนแบบสืบเสาะของครูผู้สอนจะค่อย ๆ มีพัฒนาการจาก
ต้นปีการศึกษาไปปลายปีการศึกษา หรือจากปีแรกที่ครูทดลองใช้
ไปยังปีถัดไปที่ครูมีประสบการณ์และความมั่นใจมากขึ้นแล้วนั่นเอง
แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะแบบต่อเนื่อง (Inquiry
continuum) ช่วยขจัดความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่พบได้บ่อย
ในกลุ่มครูผู้สอน ทั้งแบบ
น้อยไป
ที่อาจมองว่าแค่ปฏิบัติการทาง
วิทยาศาตร์ตามคู่มือปฏิบัติการ ก็ถือว่าเป็นการจัดการเรียนรู้แบบ