

14
นิตยสาร สสวท.
ในช่วงฤดูร้อนของทุกปีมักจะมีเหตุการณ์ที่เรียกว่า “พายุฤดูร้อน” ซึ่งเกิดจากเมฆฝนฟ้าคะนองขนาดใหญ่ ในฤดูร้อนอุณหภูมิ
อากาศเหนือพื้นดินจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ เมื่ออากาศเหนือพื้นดินลอยตัวสูงขึ้นจนถึงจุดอิ่มตัว ไอน�้
ำในอากาศจะเกิดการควบแน่นเปลี่ยน
สถานะจากไอน�้
ำไปเป็นหยดน�้
ำเกิดเป็น “เมฆ” ที่เราเห็นอยู่เป็นประจ�
ำ เราสามารถจ�
ำลองการเกิดเมฆได้ด้วยตัวเองง่าย ๆ
ตามกิจกรรมในแบบเรียน รายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ เล่มที่ 2 อุปกรณ์ที่ต้องเตรียมคือ แก้วใสทรงสูง จานแบนใส
น�้
ำร้อน น�้
ำเย็น น�้
ำแข็ง ธูปและไม้ขีดไฟ อุปกรณ์เหล่านี้หาได้ไม่ยาก โดยการใส่น�้
ำร้อนหรือน�้
ำเย็นลงในแก้วแล้วปิดด้านบนด้วย
จานแบนที่ใส่น�้
ำแข็ง ให้สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นในทั้งสองกรณี (รูปที่ 3) ซึ่งผลที่ออกมาดังรูป ก. และ ข. ส่วนรูป ค. เป็นการใส่ควันธูป
เข้าไปในแก้วที่มีน�้
ำร้อน สิ่งที่เห็นได้ชัดเจนคือ หยดน�้
ำขนาดเล็กจ�
ำนวนมากอยู่ภายในแก้ว การทดลองนี้เป็นการจ�
ำลองสภาพอากาศ
ในธรรมชาติ ซึ่งจะเห็นว่าในกรณีน�้
ำเย็น (ภาพ ก.) ไม่สามารถมองเห็นไอน�้
ำหรือหยดน�้
ำภายในแก้ว ซึ่งตามธรรมชาติหากอากาศ
มีอุณหภูมิต�่
ำมักจะมีไอน�้
ำน้อยเนื่องจากมีการระเหยน้อย เมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นก็จะมีการระเหยได้มากขึ้น ดังภาพ ข. เราจะเห็น
ไอน�้
ำซึ่งระเหยขึ้นมาจากน�้
ำร้อนที่เราใส่ลงไป แต่อย่างไรก็ตามในการเกิดเมฆจ�
ำเป็นต้องอาศัยแกนกลางเพื่อช่วยให้ไอน�้
ำสามารถ
ควบแน่นอยู่บนผิวของแกนกลางเหล่านั้น ในการทดลองเราใช้ควันธูปเป็นอนุภาคของแกนกลางดังกล่าว ท�
ำให้เราเห็นหยดน�้
ำ
ขนาดเล็กจ�
ำนวนมากจนเห็นเป็นฝ้าขาวอยู่ภายในแก้วดังภาพ ค. ได้อย่างชัดเจน
เกล็ดน�้
ำแข็ง
หิมะ / ลูกเห็บ
ไอน�้
ำ
หยดน�้
ำในเมฆ
ก
ข
ค
รูปที่ 3 การทดลองการเกิดหยดน�้
ำในเมฆ
ในธรรมชาติมีละอองลอยหรือที่เรา
เรียกกันง่าย ๆ ว่า ฝุ่น หรือเกสรดอกไม้ที่
ฟุ้งกระจายอยู่ในอากาศ ซึ่งละอองลอย
เหล่านี้จะท�
ำหน้าที่เป็นแกนกลางให้ไอน�้
ำ
เกิดการควบแน่นบนพื้นผิวของอนุภาค
เหล่านี้ หากอากาศในธรรมชาติเป็นอากาศ
ที่ปราศจากละอองลอยปะปนอยู่ท�
ำให้เกิด
การควบแน่นของไอน�้
ำได้ยากมาก ในกรณีนี้
การควบแน่นจะเกิดขึ้นได้อากาศต้องมี
ความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่า 100%หรือที่เรียกว่า
ความชื้นอิ่มตัวยิ่งยวด
(supersaturation)
เมื่ออุณหภูมิอากาศลดลงจนถึงอุณหภูมิ
จุดน�้
ำค้าง (dewpoint temperature)
ไอน�้
ำในอากาศจะเกิดการควบแน่น ซึ่งเป็น
จุดเริ่มต้นของการเกิดเมฆนั่นเอง ใน
เมฆก้อน
หรือ
เมฆคิวมูลัส
เราจะสังเกตเห็นฐานเมฆ
ได้ชัดเจน (รูปที่ 4)
รูปที่ 2 หยาดน�้
ำฟ้าในสถานะต่าง ๆ
รูปที่ 4 เมฆคิวมูลัส
ซึ่งสามารถสังเกตเห็นฐานเมฆได้ชัดเจน