Previous Page  17 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 17 / 62 Next Page
Page Background

17

ปีที่ 42 ฉบับที่ 190 กันยายน- ตุลาคม 2557

รูปที่ 2 แสดงการละลายของน�้

ำแข็งและ

การดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์จากบรรยากาศ

ในปริมาณที่ต่างกัน เมื่อน�้

ำแข็งเริ่มละลาย

ช้ าลงคาร์บอนไดออกไซด์ จากบรรยากาศถูก

ดูดซึมมากขึ้น (ที่มา:

https://smap.jpl.nasa.

gov/science/)

ฝน

มหาสมุทร

รูปที่ 1 แสดงวัฏจักรน�้

ำและพลังงาน

ประกอบด้ วย การคายน�้

ำของพืช

การระเหยจากมหาสมุทรและจากพื้นดิน

การระเหยกลายเป็นไอน�้

ำ และรวมตัว

เป็นหยดน�้

ำฝนหรือหิมะตกลงมาสู่พื้นดิน

ซึ่งอาจซึมลงใต้ดิน หรือไหลลงสู่แม่น�้

หรือทะเล พลังงานแสงอาทิตย์แผ่รังสีลง

มายังพื้นโลก เป็นพลังงานเพื่อใช้ใน

การระเหยของน�้

ำ ขึ้นสู่บรรยากาศ รวมตัว

เป็นเมฆและสะท้อนกลับมายังพื้นดิน

อีกครั้ง

โดยทั่วไปเห็นได้ชัดว่าความชื้นในดิน มีผลโดยตรงต่อการคายน�้

ำและการเจริญเติบโตของพืช ความชื้นในดินและการคายน�้

ของพืชนั้นมีผลต่อสภาพอากาศ และภูมิอากาศในแต่ละท้องถิ่น เช่น การเกิดเมฆและปริมาณน�้

ำฝนซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพที่ดินในบริเวณ

ดังกล่าว ตามรูปที่ 3 พบว่า เมฆเกิดจากผลของการคายน�้

ำในป่าแถบแม่น�้

ำอเมซอน ไม่มีเฆมที่ก่อตัวบริเวณที่น�้

ำท่วม หรือไม่มีพืชขึ้น

เมื่อน�้

ำระเหยจากแม่น�้

ำอเมซอน อากาศที่อยู่บริเวณโดยรอบติดกับพื้นดิน อุณหภูมิจะร้อนมาก ท�

ำให้เมฆไม่สามารถก่อตัวได้ ในขณะ

เดียวกันน�้

ำที่ระเหยจากยอดไม้ในระดับสูงมีอุณหภูมิที่เย็นกว่าท�

ำให้เกิดการควบแน่นเป็นเมฆได้อย่างรวดเร็ว เมื่อไอน�้

ำกลั่นตัวเป็น

เมฆส่งผลให้มีการคายความร้อนสู่บรรยากาศ