Previous Page  20 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 20 / 62 Next Page
Page Background

20

นิตยสาร สสวท.

การตรวจวัดความชื้นของดินสามารถท�

ำได้อย่างง่าย

ตามหลักการตรวจวัดของโครงการ GLOBE วิธี Gravimetric

1. ก�

ำหนดจุดตาม SMAP block pattern โดยเก็บตัวอย่างดิน

ที่ความลึก 5 เซนติเมตร แต่ละจุด อย่างน้อย 3 ตัวอย่าง เพื่อท�

ำการ

ตรวจวัด 3 ซ�้

ำ ให้กดกระป๋องลงไปในดินและตอกไม้ลงไปให้แน่น

กระป๋องใส่ตัวอย่างดิน

2. ใช้เสียมขุดกระป๋อง โดยไม่ให้ตัวอย่างดินหกออกนอกกระป๋อง

เขียนฉลากแสดงรายละเอียดของตัวอย่างดิน เช่น ชื่อจุดศึกษาของ

ดิน ชื่อผู้เก็บตัวอย่างดิน วันที่เก็บตัวอย่างดิน

3. ชั่งน�้

ำหนักดินแต่ละตัวอย่างก่อนอบ

โดยไม่ปิดฝา

4. น�

ำตัวอย่างดินไปอบที่

อุณหภูมิ 95 - 105 องศา

เซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง

5. ชั่งน�้

ำหนักของแต่ละตัวอย่างดินหลังอบ แล้วค�

ำนวณหาค่าความชื้น

ตามสูตร ดังนี้

ความชื้นในดิน (กรัม/กรัม) =

มวลของดินเปียก - มวลของดินแห้ง

มวลของดินแห้ง

6. หาปริมาตรของภาชนะที่

แห้งและสะอาดโดยใช้ cylinder

ขนาด 500 มิลลิเมตร ใส่น�้

ำลงใน

กระป๋องวัดปริมาตรเรีมต้น (V

i

) และ

ปริมาตรสุดท้าย (V

f

)

รูปที่ 8 แสดงแผนที่ความชื้นของดินของพื้นที่ทั่วโลก จากดาวเทียม SMOS

ตั้งแต่วันที่ 28 ธันวาคม 2556 ถึง 30 ธันวาคม 2556

(ที่มา

http://www.cesbio.ups-tlse.fr/SMOS_blog/?page_id=1810)

SMAP เป็นดาวเทียมดวงใหม่ที่สหรัฐอเมริกาจะส่งขึ้นไปยังอวกาศในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2557 เครื่องมือ SMAP รวมถึง

Radiometer และเรดาร์ที่ท�

ำงานที่ช่อง L-band ความถึ่ 1.2-1.41 GHz เครื่องมือถูกออกแบบวัดค่าปลดปล่อยและสะท้อนกลับ

(surface emission and backscatter) ซึ่งจะสามารถตรวจจับสภาพของดินได้แก่ ความชื้นของดิน และระยะการแข็งและการ

ละลายของน�้

ำแข็งบนพื้นดินได้ในพื้นที่ที่มีสิ่งปกคลุมดินไม่หนาแน่นมาก ระยะทางการวัดเป็น 1,000 กิโลเมตร ซึ่งครอบคลุม 3 วัน

ที่ต�

ำแหน่งศูนย์สูตร และ 2 วัน ที่ต�

ำแหน่ง ละติจูดเหนือบริเวณภูมิอากาศแบบป่าสน (Boreal Forest)

รูปที่ 9 แสดงแผนที่ SMOS soil moisture index จากพื้นที่บริเวณรากวันที่ 4

ธันวาคม 2556 พื้นที่สีส้ม และเหลืองแสดงความแห้งแล้งของดิน ความชื้นของ

ดินต�่

ำ สีน�้

ำเงินและสีเขียวแสดงความชื้นของดินสูง

6

6