

18
นิตยสาร สสวท.
ดังนั้นจะเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิประเทศจึงมีผลกระทบอย่างมากกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในบริเวณดังกล่าว
ตามความคิดเดิม การตัดไม้ท�
ำลายป่ าไม้ (deforestation) ท�
ำให้ลดการคายน�้
ำของพืช (evapotranspiration)
และลดปริมาณน�้
ำฝนในพื้นที่ แต่ในปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบว่าการลดและเพิ่มการคายน�้
ำของพืช หรือการระเหยจากพื้นดิน
มีผลโดยตรงต่อการถ่ายเทพลังงานของพื้นดินและบรรยากาศ (sensible heat and latent heat flux) ดังนั้น การเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิประเทศ เช่น การสร้างเมือง มีผลกระทบต่อความรุนแรงของพายุ พายุเกิดการแยกตัว (split up) เมื่อเคลื่อนผ่านตัวเมือง
และมารวมตัวกันใหม่ก่อให้เกิดความรุนแรงขึ้น (Niyogi et al., 2011) จากการศึกษาสภาพภูมิอากาศในประเทศอินเดียเป็นเวลา
50 ปี พบว่าการเจริญเติบโตของเมืองต่าง ๆ โดยรอบประเทศนั้น ส่งผลให้เกิดแนวโน้มเหตุการณ์ภัยภิบัติ ฝนตกหนักมากกว่า
70 มิลลิเมตรต่อวัน (Kishtawal et al, 2010) ตามที่แสดงในรูปที่ 5
รูปที่ 4
แสดงภาพสะท้อน (Reflectivity) จากเรดาร์บริเวณเมืองอินเดียนาโปลิส
สหรัฐอเมริกาวันที่ 14 มิถุนายน (ที่มา: Niyogi, Dev 2011)
รูปที่ 5 กราฟบนซ้าย (a) แสดงจ�
ำนวนวันที่ฝนตกหนักมากว่า 70
มิลลิเมตรต่อวันในบริเวณเมืองโดยรอบประเทศอินเดีย (b) แสดง
จ�
ำนวนวันที่ฝนตกหนักมากกว่า 70 มิลลิเมตรต่อวันในบริเวณ
ชนบท (c) แสดงการเจริญเติบโตของเมืองโดยรอบประเทศอินเดีย
(ที่มา: จาก Kishtawal et al, 2010)
ara Rive
ocatins Rive
Amazon River
รูปที่ 3 แสดงภาพเมฆจากดาวเทียม โมเดส (MODIS) บนพื้นที่ลุ่มน�้
ำอเมซอน
(ที่มา: NASA image courtesy Jeff Schmaltz, MODIS Rapid Response at NASA GSFC)