Previous Page  12 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 12 / 62 Next Page
Page Background

บรรณานุกรม

Engineering Design Process. (2008, February 7). Retrieved

September 21, 2014, from

http://www.nasa.gov/audience/

foreducators/plantgrowth/reference/Eng_Design_5-12.html#.

VCWvevl5N10

Engineering Design Process. Retrieved September 1,

2014, from

http://www.teachengineering.org/engrdesign

process.php

12

นิตยสาร สสวท.

สถานการณ์

เมื่อพิจารณาสถานการณ์จะเห็นว่า มีการเชื่อมโยงเรื่องราวกับ

ชีวิตจริง รวมทั้งมีก�

ำหนดเงื่อนไขต่าง ๆ เพื่อให้ปัญหานั้นท้าทายขึ้น

ซึ่งการสร้างค�

ำถามหรือสถานการณ์เช่นนี้เป็นค�

ำถามแบบปลายเปิด

ค�

ำตอบมีได้หลากหลาย เนื่องจากนักเรียนสามารถเลือกใช้สารเคมี

อุปกรณ์หรือวิธีการที่ต่างกันในการท�

ำน�้

ำให้เย็นตามเงื่อนไข

ใบกิจกรรม

ขั้นตอนในใบกิจกรรมได้ออกแบบวิธีด�

ำเนินกิจกรรมเป็นขั้นตอน

ตามกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม เพื่อช่วยล�

ำดับความคิด

ของนักเรียนให้สามารถด�

ำเนินกิจกรรมได้ ตามรายละเอียดดังนี้

ข้อ 1 ระบุปัญหาหรือสถานการณ์

การระบุปัญหาหรือสถานการณ์มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนได้

วิเคราะห์ประเด็นที่เป็นปัญหาหรือความต้องการ รวมทั้งเงื่อนไขต่าง ๆ

จากข้อมูลหรือสถานการณ์ที่ก�

ำหนดให้ โดยต้องเรียบเรียงเป็น

ข้อความใหม่ตามความเข้าใจของตนเอง ซึ่งครูสามารถรู้ได้ว่านักเรียน

วิเคราะห์ข้อมูลหรือสถานการณ์ได้ถูกต้องหรือไม่

ข้อ 2 ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการท�

ำน�้

ำให้เย็นตามเงื่อนไข

นักเรียนควรรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่จ�

ำเป็นส�

ำหรับการแก้ไข

ปัญหาหรือสถานการณ์ตามเงื่อนไขที่ก�

ำหนด โดยวิเคราะห์ว่า

จะใช้ความรู้ในเรื่องใดบ้างในการแก้ไขปัญหาและต้องสรุปองค์ความรู้

นั้นเอง รวมทั้งต้องท�

ำการทดลองเพื่อประกอบการตัดสินใจเลือก

สารเคมีและอุปกรณ์ที่จะใช้ในการแก้ปัญหาพร้อมกับบอกเหตุผล

แต่จะเห็นว่าใบกิจกรรมนี้ช่วยตีกรอบองค์ความรู้ที่จ�

ำเป็นต้องใช้

ในการแก้ปัญหาให้กับผู้เรียนด้วย เนื่องจากถ้านักเรียนไม่เคย

เรียนรู้หรือฝึกทักษะตามกระบวนการนี้ ก็อาจไม่สามารถตอบ

ค�

ำถามหรือด�

ำเนินกิจกรรมต่อได้ ดังนั้นการช่วยแนะน�

ำจึงยังคง

เป็นสิ่งจ�

ำเป็น แต่ผู้เรียนก็ยังต้องเลือกสารเคมีและอุปกรณ์ที่จะ

ใช้ในการแก้ปัญหาพร้อมกับบอกเหตุผลเองทั้งหมด

ข้อ 3 รูปแสดงอุปกรณ์ที่ออกแบบไว้

นักเรียนควรร่วมกันระดมความคิด วางแผนและวาดรูปแสดง

สิ่งที่จะเกิดขึ้นก่อนการทดลองแก้ปัญหาจริง ซึ่งจะเห็นว่า การที่

นักเรียนวาดรูปแสดงอุปกรณ์ได้นั้น ต้องผ่านการคิดพิจารณา

อย่างเป็นล�

ำดับขั้น เพื่อน�

ำไปสู่การลงมือปฏิบัติ

เม่ื่อได้ออกแบบเสร็จเรียบร้อยแล้ว นักเรียนจะต้องทดสอบ

การแก้ปัญหา โดยลงมือปฏิบัติตามแนวทางที่ได้ออกแบบไว้

โดยในขั้นตอนของการจัดหาสารเคมีและอุปกรณ์ต่าง ๆ นักเรียน

ต้องค�

ำนึงถึงการบริหารค่าใช้จ่าย โดยต้องพิจารณาถึงปริมาณ

สารเคมี และอุปกรณ์ที่จะใช้ เพื่อใช้จ่ายให้อยู่ในงบประมาณ

ที่ก�

ำหนด ทั้งนี้เพื่อฝึกให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การด�

ำเนินงานเทียบ

เคียงกับในชีวิตจริงที่ต้องค�

ำนึงถึงเรื่องงบประมาณด้วย

ข้อ 4 ผลการทดลอง

หลังจากที่นักเรียนได้ด�

ำเนินการแก้ปัญหาตามที่ได้ออกแบบ

ไว้แล้วนักเรียนต้องบันทึกข้อมูลที่ได้ เพื่อใช้ เป็นข้อมูลใน

การประเมินผลของการแก้ปัญหาต่อไป

ข้อ 5 การประเมินผลและการปรับปรุงแก้ไข

นักเรียนควรประเมินผลที่ได้จากการทดลองแก้ปัญหาด้วยตนเอง

รวมทั้งบอกวิธีการปรับปรุงแก้ไขหากยังไม่สามารถแก้ปัญหาได้

ตามเงื่อนไขหรืออาจแก้ปัญหาได้ตามเงื่อนไขแล้วแต่ต้องการ

ปรับปรุงให้ดีขึ้น พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลประกอบ ซึ่งจากการ

ตอบค�

ำถามในใบกิจกรรม รวมทั้งข้อมูลในข้ออื่น ๆ ที่ผ่านมาจะ

ท�

ำให้ทราบว่านักเรียนประเมินผลการแก้ปัญหาได้ถูกต้องหรือไม่

รวมทั้งการปรับปรุงแก้ ไขบนพื้นฐานของข้ อมูลที่ได้ จาก

การทดลองหรือไม่

เกณฑ์การให้คะแนน

ข้อมูลส่วนนี้จะแสดงไว้ในใบกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนทราบ

ถึงเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการตัดสินผล เพื่อเป็นข้อมูลประกอบ

การตัดสินใจในการแก้ปัญหา

นอกจากการบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ลงในใบกิจกรรมแล้ว

ในกิจกรรมนี้จะให้นักเรียนได้น�

ำเสนอวิธีการแก้ปัญหาซึ่งอาจน�

ำเสนอ

ตามล�

ำดับขั้นซึ่งได้ด�

ำเนินการตามใบกิจกรรม เพื่อเป็นการ

ตรวจสอบความคิด และเปิดโอกาสให้เพื่อนร่วมชั้นเรียนได้ร่วมกัน

ซักถามหรืออภิปราย รวมทั้งครูสามารถให้ค�

ำแนะน�

ำกับนักเรียน

ในประเด็นที่ยังเป็นข้อบกพร่องได้อีกด้วย

หวังเป็นอย่างยิ่งว่ากิจกรรมนี้จะช่วยเป็นแนวทางให้กับครูที่จะน�

กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรมไปปรับใช้ในห้องเรียน เพื่อเป็น

การฝึกทักษะการคิดอย่างเป็นระบบของนักเรียนต่อไปได้