Previous Page  5 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 5 / 62 Next Page
Page Background

จากคุณลักษณะที่จ�

ำเป็นของห้องเรียนแบบสืบเสาะแต่ละข้อจะถูกขยายออกเป็น 4 ระดับดังตาราง

โดยระดับแรกครูจะเป็นผู้ก�

ำหนดแนวทางโดยที่นักเรียนจะเป็นผู้ปฏิบัติตามแนวทางที่ก�

ำหนดไว้ ในแต่ละระดับ

ที่เพิ่มขึ้นครูก็จะเปิดโอกาสให้กับนักเรียนในการเป็นผู้ก�

ำหนดแนวทางของการจัดการเรียนรู้มากขึ้น ไปจนถึง

ระดับที่ 4 ที่นักเรียนเป็นผู้ก�

ำหนดแนวทางการเรียนรู้ในห้องเรียนทั้งหมด เช่น คุณลักษณะที่ 1 ที่จ�

ำเป็นของ

ห้องเรียนแบบสืบเสาะ(Essentialfeaturesofclassroominquiry) ที่นักเรียนต้องมีความสนใจในค�

ำถามเชิงวิทยาศาสตร์

5

ปีที่ 42 ฉบับที่ 190 กันยายน- ตุลาคม 2557

แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะแบบต่อเนื่องให้ความ

ส�

ำคัญกับความต่อเนื่องของ 5 คุณลักษณะที่จ�

ำเป็นของห้องเรียน

แบบสืบเสาะ (Essential features of classroom inquiry)

(NRC, 2000) นั่นคือ

1. นักเรียนมีความสนใจในค�

ำถามเชิงวิทยาศาสตร์ (Learner

engages in scientifically oriented questions)

2. นักเรียนให้ความส�

ำคัญกับหลักฐานที่ใช้ตอบค�

ำถาม

(Leaner gives priority to evidence in responding toquestions)

3. นักเรียนสร้างค�

ำอธิบายจากหลักฐานที่ปรากฏ (Learner

formulates explanations from evidence)

4. นักเรียนเชื่อมโยงค�

ำอธิบายเข้ากับความรู้ทางวิทยาศาสตร์

(Leaner connects explanations to scientific knowledge)

5. นักเรียนสื่อสารและแสดงให้เห็นถึงความสมเหตุสมผลของ

ค�

ำอธิบาย (Learner communicates and justifies

explanations)

การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะแบบต่อเนื่อง

แนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะแบบต่อเนื่อง ไม่ได้แบ่ง

ออกเป็น 4 ระดับเท่านั้น แต่สามารถแบ่งออกเป็นหลากหลาย

ระดับต่อเนื่องกันไป ขึ้นอยู่กับระดับการก�

ำหนดแนวทางของ

กิจกรรมในห้องเรียนโดยครูและการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม

การเรียนรู้โดยนักเรียน คล้ายกับสีสันของรุ้งกินน�้

ำที่แบ่งเป็น 7 สี

แต่จริง ๆ แล้วแต่ละสีของรุ้งกินน�้

ำสามารถแบ่งออกเป็นอีกหลาย

เฉดสีที่ต่อเนื่องกันไป