

= 0.59 ug
G
M
R
g GM
R
0
2
-2
=
ms
6.674x10 x6x10
(6,371+400)
400
=
g
401
g
400
=
g
401
g
400
400
= -
g
GM
(R+h)
h
2
2
-11
2 2
6
24
-2
24
ms
6.674x6x10
8.736955
8.731795
0.005160
=
5.16x10
x8.74x10
(6,771+10 )
=
26
13
5.16
8.74
=
-2
ms
=
8.74
=
0.59
=
=
-2
ms
-2
ms
ug
-2
-6
-6
=
=
g
9.81 m s
0
g
-11
10
-6
u
12
นิตยสาร สสวท.
แกรวิตีเกิดจากโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ และดวงดาว
ทั้งหลาย ดังนั้นจึงมีแกรวิตีในอวกาศ โดยมีค่าต่าง ๆ กัน เช่น
แกรวิตีที่ผิวโลกจะมากกว่าที่ระดับสูง 400 กิโลเมตร แกรวิตี
ดังกล่าวเกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลกโดยตรง และแรงโน้มถ่วง
ของโลกลดลงตามกฎก�
ำลัง 2 ผกผัน ที่ผิวโลกความเร่งเนื่องจาก
แรงโน้มถ่วงของโลก = 9.81 เมตรต่อวินาทีก�
ำลังสอง ที่ระดับ
สูง 400 กิโลเมตร ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
= 8.7369 เมตรต่อวินาทีก�
ำลังสอง ที่ระดับสูง 401 กิโลเมตร
ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก = 8.7318 เมตร
ต่อวินาทีก�
ำลังสอง ดังนั้นที่ระดับสูง 400 กิโลเมตร ความเร่ง
เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกลดลง 0.0059 เมตรต่อวินาทีก�
ำลัง
สอง ต่อ 1 กิโลเมตร เมตรต่อวินาทีก�
ำลังสอง ต่อ
กิโลเมตร ตามการค�
ำนวณข้างต้น
วัตถุไม่ลอยอยู่นิ่งในอวกาศเทียบกับโลก วัตถุที่อยู่ในยาน
อวกาศลอยอยู่ในยานอวกาศ เพราะทั้งวัตถุและยานอวกาศต่าง
เคลื่อนที่ไปด้วยกัน ก�
ำลังตกสู่พื้นโลกพร้อมกัน วัตถุจึงลอยใน
ยานอวกาศ ยานอวกาศตกลงตามเส้นโค้งรอบโลก ยานอวกาศ
และวัตถุภายในยานก�
ำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในทิศทางเข้าสู่
จุดศูนย์กลางของโลก แรงที่ดึงยานอวกาศก็คือแรงโน้มถ่วงของ
โลกนั่นเอง เส้นทางที่ยานอวกาศเคลื่อนที่ไม่เป็นเส้นตรง แต่
เป็นทางโค้ง ทิศทางการเคลื่อนที่เปลี่ยนตลอดเวลา ยานอวกาศ
จึงมีความเร่ง ถ้า v เป็นอัตราเร็วของยานอวกาศที่ระดับสูง h
เราสามารถหาได้ว่า ความเร่งของยานในทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลาง
ของโลกมีค่าเท่ากับ เมื่อ R เป็นรัศมีของโลก
มีไมโครแกรวิตีในอวกาศหรือไม่
ท�
ำไมวัตถุจึงลอยในอวกาศและยานอวกาศ
ตกรอบโลกได้อย่างไร
g
g
g
0
400
401
v
(R+h)
2