Previous Page  27 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 27 / 62 Next Page
Page Background

27

ปีที่ 43 ฉบับที่ 193 มีนาคม - เมษายน 2558 ี

ที่ ั

บี่ ี

นอกจากจะได้ความรู้มากมายเกี่ยวกับฟิสิกส์อนุภาคแล้ว นักเรียน ยังมีโอกาสได้สัมผัสกับเทคโนโลยีที่ทันสมัยของเครื่องตรวจวัด

อนุภาคเพื่อค้นหาก�

ำเนิดแห่งเอกภพ ต่อไปนี้คือส่วนหนึ่งของประสบการณ์และความประทับใจที่พวกเขาได้รับ

นายวทัญญู ฟูแสง โรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย

“คนไทยน้อยคนนักที่จะได้สัมผัสกับเซิร์นด้วยตนเอง ไม่ต้องพูดถึงเครื่องเร่งอนุภาค

และ detector ที่ปกติไม่เปิดให้เข้าชมอยู่แล้ว การเข้าร่วมโครงการครั้งนี้เป็นการเปิด

โลกทัศน์เกี่ยวกับแวดวงวิทยาศาสตร์ของโลก... ช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้กับนักเรียนสาย

วิทยาศาสตร์ได้เป็นอย่างดี สิ่งต่างๆ ที่ได้พบเห็นจะเป็นแรงขับเคลื่อนให้พวกเราน�

ำมา

พัฒนาประเทศชาติต่อไปในภายหน้าอย่างแน่นอน”

นายธิปยวิศว์ ชื่นจิตร โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย

“ได้พบกับนักวิทยาศาสตร์ที่มีความช�

ำนาญในสาขานั้นๆ ข้าพเจ้าได้รับโอกาสในการซักถาม

ข้อสงสัยต่างๆจากนักวิจัยผู้มากด้วยประสบการณ์ ซึ่งก็ท�

ำให้ได้รับค�

ำตอบที่ชัดเจน ถูกต้อง และ

แม่นย�

ำ การเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้จึงท�

ำให้ข้าพเจ้าเกิดแรงบันดาลใจที่จะศึกษาวิชาฟิสิกส์ในเชิง

ทฤษฎีให้มากยิ่งขึ้นต่อไป”

นายณัชชนก ค�

ำพิทักษ์ โครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน

(วมว) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์)

“ได้ความรู้เกี่ยวกับการน�

ำความรู้ทางด้านฟิสิกส์อนุภาคไปประยุกต์ใช้ ทั้งในเชิงการแพทย์

เช่น การท�

ำ CT/MRI scans และในด้านคอมพิวเตอร์ และสามารถน�

ำความรู้ที่ได้มา ไปเล่าต่อให้

แก่บุคคลรอบข้าง เช่น รุ่นน้องที่โรงเรียน ท�

ำให้รู้จักและสนใจในฟิสิกส์อนุภาคมากขึ้น”

น.ส.อรุณเริ่ม กิตติรัตนชัย โครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน

(วมว) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

“แน่นอนว่าในการเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้เราได้รับความรู้ทางด้านฟิสิกส์มากมายและได้

สัมผัสความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม แต่นั่นไม่ใช่สิ่งเพียงสองสิ่งที่เราได้รับจากโครงการนี้

อีกสิ่งหนึ่งที่เราได้รับมาอย่างมากคือการใช้ชีวิต ดูแลตัวเอง และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และ

ผู้คนรอบ ๆ ตัวเราได้เห็นสิ่งที่ใหม่แปลกตาน่าสนใจมากมาย”

น.ส.เหมือนฟ้า เนตรหาญ โรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัยลพบุรี

“ได้รู้จักเทคโนโลยีใหม่ ๆ ทั้งด้านการพัฒนาความรู้ทางฟิสิกส์อนุภาค เช่น ATLAS CMS และ

ทางด้านการรักษาพยาบาล เช่น MRI CT PET Hadron therapy ได้เห็นความทุ่มเทของนักวิจัยที่

ให้ความรู้ในเซิร์น ... เขามีความสุขที่จะถ่ายทอดความรู้ในสิ่งที่เขาก�

ำลังท�

ำอยู่... ท�

ำให้ฟิสิกส์อนุภาค

เป็นแนวทางประกอบการตัดสินใจในการประกอบอาชีพได้อีกทางหนึ่ง”