Previous Page  28 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 28 / 62 Next Page
Page Background

นิตยสาร สสวท.

28ิ

นายสาริศ วิเศษสุมน โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (โครงการโอลิมปิก)

“ได้เข้าใจฟิสิกส์อนุภาค และการประยุกต์ใช้เครื่องเร่งอนุภาคมากขึ้น ผ่านทั้งการบรรยาย และ

ได้เยี่ยมชมเครื่องมือจริง เป็นแรงบันดาลใจในการศึกษาฟิสิกส์อนุภาค และฟิสิกส์ด้านอื่น ๆ ต่อไป”

นายบรรณวิชญ์ พิมพานุวัตร โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย

“ได้รับความรู้มากขึ้นเกี่ยวกับฟิสิกส์อนุภาคทั้งในทางทฤษฎีและการทดลอง หลักการ

ท�

ำงานของเครื่องเร่งอนุภาคและเครื่องตรวจวัดอนุภาคที่ท�

ำงานอยู่ที่ เซิร์น นอกจากด้าน

ฟิสิกส์แล้ว ยังได้รับรู้ถึงวิถีชีวิตของคนในเมืองเจนีวา การใช้ชีวิตประจ�

ำวัน ภาษา ศิลปะ

และวัฒนธรรม คนที่นี่มีมารยาทดีมาก ๆ เมื่อเราจะข้ามถนน รถยนต์ที่วิ่งมาจะจอดให้เรา

ข้ามถนนก่อน ไม่ว่าเขาจะวิ่งมาเร็วแค่ไหนก็ตาม”

นายณภัทร ศิริพรสวรรค์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

“ไปดูเครื่องตรวจวัด CMS ซึ่งตั้งอยู่ใต้ดินในเมือง Cessy ประเทศฝรั่งเศส ตอนเวลา

12:20 น. ซึ่งวันนี้ผมรู้สึกตื่นเต้นมากที่สุด ก่อนลงไปเจ้าหน้าที่ได้อธิบายการท�

ำงานของ

เครื่อง CMS เช่น ระบบแม่เหล็ก ระบบวัดรอยทางอนุภาค การหาพลังงาน การหาโมเมนตัม

การลงไปนั้นท�

ำโดยการลงลิฟท์ ซึ่งผมคาดว่าน่าจะเป็นวิธีการเดียว.... เมื่อลงไปต้องเดิน

ตามทางเล็ก ๆ ประมาณ 2 นาที โดยมีระบบตรวจสอบบุคคลที่ละเอียดและแน่นหนามาก”

น.ส.ภัทราพร สิงคนิภา นายพลช เธียรธัญญกิจ และนายปภพ เรืองเดช

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

“ได้มีโอกาสไปชม CMS ของจริงที่ใต้ดินลึกลงไป 100 เมตรซึ่งท�

ำให้ตื่นตา

ตื่นใจเป็นอย่างมากเป็นหนึ่งในสิ่งที่อยากเห็นมากที่สุด ได้เรียนรู้กลไก

การท�

ำงานบริเวณการชน และการใช้เครื่องจักรและระบบคอมพิวเตอร์ใน

การควบคุมด้วยนั่นเอง”

นายสรัช ลิ่วศิริรัตน์ โครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน (วมว)

โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย

“การเข้าฟังบรรยายสุดพิเศษ จากนักฟิสิกส์ระดับโลก Jonathan R. Ellis แห่งเซิร์น..... John

บอกว่า ถ้าอยากเป็นอะไร ท�

ำอะไร เราต้องชอบที่จะท�

ำสิ่งนั้น แล้วเราจะประสบความส�

ำเร็จและ

มีความสุข เมื่อ john พูดจบผมมีแรงบันดาลใจที่จะเป็นนักฟิสิกส์ทันที”