Previous Page  23 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 23 / 62 Next Page
Page Background

1

2

ซึ่งในการตัดสินใจว่าผู้เล่นควรจะเปลี่ยนใจหรือไม่นั้น จะต้อง

ใช้หลักการเรื่องความน่าจะเป็นและค่าคาดหมายมาพิจารณา

โดยอาจก�

ำหนดให้ ในซองหนึ่งมีจ�

ำนวนเงินอยู่ A บาท

ความน่าจะเป็นที่อีกซองหนึ่งจะมีจ�

ำนวนเงินเป็น 2A และ จะ

เท่ากับ เท่ากัน ดังแสดงในรูปที่ 3

รูปที่ 3 แผนภาพความน่าจะเป็นของกิจกรรม สุ่มซองสองเท่า

มีซองจดหมายที่มีลักษณะเหมือนกันทุกประการอยู่ 2 ซอง

และภายในซองทั้งสองนี้มีเงินบรรจุอยู่โดยในซองหนึ่งมีจ�

ำนวน

เงินเป็นสองเท่าของอีกซองหนึ่งแต่ไม่ทราบว่าเป็นซองไหน ถ้า

ผู้เล่นสามารถเลือกหยิบซองจดหมายใดก็ได้เพื่อรับเงินในซองไป

แต่ได้รับโอกาสให้เปลี่ยนใจเลือกอีกซองหนึ่งก่อนจะเปิดซองอยู่

เสมอ ผู้เล่นควรตัดสินใจเปลี่ยนซองหรือไม่เพื่อให้มีโอกาสได้รับ

เงินที่มากกว่า เพราะเหตุใด

ปีที่ 43 ฉบับที่ 193 มีนาคม - เมษายน 2558

23

ถ้าในครั้งแรกผู้เล่นเลือกซองที่มีเงิน A บาท เรา

สามารถพิจารณาค่าคาดหมายของจ�

ำนวนเงินที่อยู่ในอีกซอง

หนึ่งเพื่อเปรียบเทียบกันได้ดังนี้

ค่าคาคหมายของจ�

ำนวนเงินที่อยู่ในอีกซอง

ค่าคาดหมายของจ�

ำนวนเงินที่อยู่ในแต่ละซอง

บาท

บาท

บาท

บาท

ซึ่งมีค่ามากกว่า A บาท ดังนั้น จึงควรเลือกเปลี่ยนซอง

เพราะค่าคาดหมายของจ�

ำนวนเงินสูงกว่า

ปัญหาจากการค�

ำนวณค่าคาดหมายดังแสดงไว้ข้างต้น

อยู่ที่กลลวงของการน�

ำเอาสองกรณีความน่าจะเป็นที่ต่าง

สถานการณ์กันมาร่ วมกันค�

ำนวณเป็นค่ าคาดหมายเดียว

จากสมการจะสังเกตเห็นได้ว่าจากนิพจน์ (2A) ค่า A เป็น

ตัวแปรแทนจ�

ำนวนเงินที่

น้อยกว่า

ในขณะที่นิพจน์ ค่า A

เป็นตัวแปรแทนจ�

ำนวนเงินที่

มากกว่า

ดังนั้นตัวแปร A ที่ใช้ใน

สมการนี้ใช้แทนค่าสิ่งที่แตกต่างกัน จึงไม่สามารถน�

ำมาค�

ำนวณ

ร่วมกับความน่าจะเป็นเพื่อหาค่าคาดหมายได้

วิธีการค�

ำนวณค่าคาดหมายที่ถูกต้องจะต้องก�

ำหนด

ตัวแปรใหม่ให้ชัดเจน เช่น ก�

ำหนดให้ X แทนจ�

ำนวนเงินในซอง

ที่น้อยกว่า ดังนั้นจ�

ำนวนเงินที่อยู่ในซองที่มากกว่าจะเป็น 2X

บาท เมื่อค�

ำนวณค่าคาดหมายใหม่โดยจะต้องพิจารณาจากค่า

คาดหมายของจ�

ำนวนเงินที่อยู่ในแต่ละซอง จะได้ว่า

แต่ก่อนจะเปิดซองที่เปลี่ยนใจมาแล้วหนึ่งครั้งผู้เล่นจะ

ได้รับโอกาสในการเปลี่ยนใจอีก ซึ่งหากพิจารณาค่าคาดหมาย

ในลักษณะเดียวกันจะพบว่าการเปลี่ยนใจเพื่อกลับไปเลือกซอง

เดิมอีกครั้งจะได้ค่าคาดหมายสูงกว่าเดิม จึงควรเลือกเปลี่ยนใจ

และจะเลือกเปลี่ยนใจสลับกันเช่นนี้เรื่อยไป โดยไม่สิ้นสุดจนไม่

สามารถสรุปได้ ว่ าควรจะ เ ลือกซอง ใดดีซึ่งขัดแย้ งกับ

สามัญส�

ำนึกเบื้องต้นว่าเพียงเลือกซองใดซองหนึ่งโดยไม่เปลี่ยนใจ

โอกาสที่จะได้เงินจ�

ำนวนมากกว่าก็เท่ากับ อยู่แล้ว

ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 2X ซึ่งเป็นจ�

ำนวนเงินจริงที่อยู่ใน

อีกซอง จึงไม่จ�

ำเป็นต้องตัดสินใจเปลี่ยนซองจดหมาย

ปฏิทรรศน์ จดหมายสองซองนี้แสดง ให้ เห็นถึง

ความส�

ำคัญในการแยกกรณีเหตุการณ์ความน่าจะเป็นและ

การก�

ำหนดตัวแปรที่ชัดเจนในการหาค่าคาดหมาย โดยต้องไม่

รวมเอาสถานการณ์ที่เกิดจากการสมมติสองสิ่งที่แตกต่างกันมา

ค�

ำนวณค่าคาดหมายร่วมกันซึ่งก็เป็นความผิดพลาดที่อาจท�

ำให้

ค�

ำตอบที่ได้ขัดแย้งกับสามัญส�

ำนึกที่ถูกต้องอยู่แล้วไป กลายเป็น

ความไขว้ เขวที่ชวนให้ สงสัยว่ าบางครั้งสามัญส�

ำนึกกับ

คณิตศาสตร์ที่ผิดพลาดก็อาจน�

ำพาเราไปคนละทางได้จริง ๆ!

บรรณานุกรม

Micro-g environtment. (2014). สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2557

จาก

http://en.wikipedia.org/wiki/Microgenvironmen

#mediaviewer

Simon, Scott (2005). Math Guy: The Birthday Problem. สืบค้น

เมื่อ 7 ตุลาคม 2557,จา

กhttp://www.npr.org/templates/story/

story. php?storyId=4542341

Shermer, Michael (2009). The 3-Door Monty Hall Problem.

สืบค้นเมื่อ 7 ตุลาคม 2557, จาก

http://www.scientificameri -can.com/article/he-3-door-mon

ty-hall-problem

Turner, Rich & Quilter, Tom. The Two Envelopes Problem.

สืบค้นเมื่อ 7 ตุลาคม 2557, จาก

http://www.gatsby-ucl.ac

.

uk / - turner / notes / twoenvelopes / 2enulps.dpf

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยยาศาสตร์และเทคโนโลยี.(2554).

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษา

ปีที่ ๓.

กรุงเทพ: องค์การค้าของ สกสค.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยยาศาสตร์และเทคโนโลยี.(๒๕๕๕).

คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม ๒ ชั้นมัธยมศึกษา

ปีที่ ๓

. กรุงเทพ: องค์การค้าของ สกสค.

+

(2A)

A

1

2

= 5

4

1

2 2

=

A

2

A