

29
ปีที่ 43 ฉบับที่ 193 มีนาคม - เมษายน 2558 ี
ที่ ั
บี่ ี
น
ครูผู้ดูแลนักเรียน
1.นายคมศิลป์ โคตรมูล
ครูวิชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครปฐม 02-8497211
amolozo@mwit.ac.th2.นางสาวลัดดา บูรพากูล
ครูช�
ำนาญการพิเศษ โรงเรียนสุรนารีวิทยา จังหวัดนครราชสีมา
044-255740
burapakul@hotmail.comองค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป The European Organization for Nuclear Research, (CERN) เป็นสถาบันวิจัยฟิสิกส์อนุภาค
ที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีฐานะเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่นักวิทยาศาสตร์ และวิศวกรชั้นน�
ำของโลกไปรวมตัวกันเพื่อค้นหาค�
ำตอบ
ของจักรวาล เซิร์ นได้ ออกแบบและสร้ าง เครื่อง เร่ งอนุภาคขนาดใหญ่ ที่สุดในโลกที่เรียกว่ า Lar ge Hadron
Collider (LHC) ภายในอุโมงค์ใต้ดินรูปวงแหวนขนาดเส้นรอบวง 27 กิโลเมตร ซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ใต้ดินของประเทศ
ฝรั่งเศส และสวิตเซอร์แลนด์ LHC เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่เร่ง อนุภาคโปรตอน (Proton) ให้มีพลังงานสูง และควบคุมให้อนุภาค
โปรตอนชนกันเพื่อจ�
ำลองเหตุการณ์หลังการเกิดบิ๊กแบง (Big Bang) ที่เชื่อว่าเป็นจุดก�
ำเนิดของจักรวาล เพื่อค้นหาอนุภาคที่เป็น
ที่มาของอนุภาคมูลฐานของสสาร ซึ่งจะน�
ำไปสู่ การไขความลับเกี่ยวกับการก�
ำเนิดจักรวาล เมื่อ พ.ศ. 2556
ที่ผ่ านมา เซิร์ นได้ ประกาศเกี่ยวกับการค้ นพบอนุภาคฮิกส์ (Higgs particle) หรือเรียกว่ าเป็ นอนุภาคพระเจ้ า
(God particle) เนื่องจากอนุภาคชนิดนี้เป็นอนุภาคที่อธิบายว่าท�
ำไมอนุภาคมูลฐานชนิดอื่น เช่น ควาร์ก อิเล็กตรอน ฯลฯ
ถึงมีมวลได้ งานวิจัยของเซิร์นยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ อย่างเช่น ด้านการแพทย์ เป็นต้นนอกจากนี้เซิร์น ยังถือว่าเป็น
สถาบันวิจัยที่ให้ก�
ำเนิด เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web (WWW)) ขึ้นในโลกอีกด้วย
ตลอดระยะเวลา 1 สัปดาห์ ที่ผู้เข้าร่วมโครงการได้เดินทางไปร่วมกิจกรรมที่เซิร์นนั้น ถือเป็นการเปิดโลกทัศน์ใน
วงการวิทยาศาสตร์ของโลก ได้เห็นการท�
ำงานของนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรเก่ง ๆ ระดับรางวัลโนเบล พัฒนาความรู้
ทางฟิสิกส์อนุภาค สร้างแรงบันดาลที่จะเป็นนักฟิสิกส์ต่อไปในอนาคต และที่ส�
ำคัญได้ไปเห็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
ในโลกอีกด้วย
นอกจากกิจกรรม Singapore and Thailand Summer School ซึ่งเป็นกิจกรรมของนักเรียนระดับมัธยมปลายนี้แล้ว
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) ยังมีกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจ เทคโนโลยีแสงซินโครตรอน และต้องการ
เข้ามาสัมผัสและเรียนรู้กับเราอีกหลายกิจกรรม อาทิ โครงการนักศึกษา และครูฟิสิกส์ภาคฤดูร้อนเซิร์น ณ สมาพันธรัฐสวิส
โครงการนักศึกษาภาคฤดูร้อนเดซี ณ ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน โครงการครูฟิสิกส์ค่ายฤดูร้อน Science
Education Program ณ LLNL สหรัฐอเมริกา อีกทั้ง ค่าย ASEAN Synchrotron and Neutron Science Camp
ณ ประเทศอินโดนีเซีย เป็นต้น โดยสามารถเข้าไปศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
www.slri.or.th0-44217-040 ต่อ 1604 -5 หรือ
ติดตามได้ทาง
www.facebook.com/SLRI.THAILAND