Previous Page  22 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 22 / 62 Next Page
Page Background

กรณี 2.3:

ผู้เข้าแข่งขันเลือกประตูที่มีรถยนต์เป็นครั้งแรก ซึ่งมีความน่าจะเป็นเท่ากับ เหตุการณ์ที่เป็นไปได้มีดังนี้

ผู้เข้าแข่งขันเลือกประตูที่มีรถยนต์ -> พิธีกรเปิดประตูที่มีแพะ -> ผู้เข้าแข่งขันเปลี่ยนใจไปเลือกประตู

ที่มีแพะอีกประตูที่เหลือท�

ำให้ผู้เข้าแข่งขันเป็นฝ่ายแพ้

ความน่าจะเป็นที่จะชนะ = ความน่าเป็นของเหตุการณ์กรณี 2.1 + ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์กรณี 2.2

ความน่าจะเป็นที่จะแพ้ = ความน่าเป็นของเหตุการณ์กรณี 2.3

ซึ่งอาจพิจารณาเป็นกรณีย่อย 2 กรณีดังนี้

2.3.1 ผู้เข้าแข่งขันเลือกประตูที่มีรถยนต์ -> พิธีกรเปิดประตูที่มีแพะตัวที่หนึ่ง -> ผู้เข้าแข่งขันเปลี่ยนใจไป

เลือกประตูที่มีแพะตัวที่สอง

2.3.2 ผู้เข้าแข่งขันเลือกประตูที่มีรถยนต์ -> พิธีกรเปิดประตูที่มีแพะตัวที่สอง -> ผู้เข้าแข่งขันเปลี่ยนใจ

ไปเลือกประตูที่มีแพะตัวที่หนึ่ง

เนื่องจากการเลือกเปิดประตูของพิธีกรเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต่างวาระกับการเลือกประตูครั้งแรกของผู้เข้าแข่งขัน

และโอกาสที่พิธีกรจะเปิดประตูที่มีแพะตัวที่หนึ่งหรือแพะตัวที่สองมีค่าเท่ากันนั่นคือ ดังนั้นความน่าจะเป็นที่

จะเกิดเหตุการณ์ย่อยที่ 2.3.1 กับ 2.3.2 จะเป็น เท่ากัน ท�

ำให้ความน่าจะเป็นที่ผู้เข้าแข่งขันเลือกประตู

ที่มีรถยนต์ครั้งแรกแล้วเปลี่ยนใจจนได้แพะตัวที่หนึ่งหรือตัวที่สองมีค่าเป็น เช่นเดิมซึ่งกรณีย่อยที่ 2.3.1

และ 2.3.2 นี้ เป็นกรณีที่ผู้เข้าแข่งขันเป็นฝ่ายแพ้

เมื่อเปรียบเทียบความน่าจะเป็นของกรณีที่ 2.1 2.2 และ 2.3 แล้ว จะเห็นว่าหากผู้เข้าแข่งขันตัดสินใจเลือก

ประตูใหม่เสมอ เหตุการณ์ที่จะชนะมีสองกรณีคือกรณี 2.1 และ 2.2 และเหตุการณ์ที่จะแพ้มีเพียงกรณีเดียวคือ

กรณี 2.3 ดังนั้น

3 ปฏิทรรศน์จดหมายสองซอง (Two-Envelope Paradox) กับกิจกรรม ‘สุ่มซองสองเท่า’

ส�

ำหรับปฏิทรรศน์จดหมายสองซอง เป็นปฏิทรรศน์เกี่ยวกับค่าคาดหมาย (Expectation) ที่อาจจะแตกต่างจากสอง

ปฎิทรรศน์ที่ได้ยกตัวอย่างไป เนื่องจากปฏิทรรศน์นี้เป็นปฏิทรรศน์ที่แสดงว่าบางครั้งการค�

ำนวณทางคณิตศาสตร์ที่ด�

ำเนินไปอย่าง

ผิดหลักการ ก็อาจน�

ำไปสู่ผลลัพธ์ที่ขัดแย้งกับสามัญส�

ำนึกจนน�

ำไปสู่การตัดสินใจที่ไม่ถูกต้องได้ ส�

ำหรับกติกาของกิจกรรม ‘สุ่มซอง

สองเท่า’ ซึ่งอ้างอิงจากปฏิทรรศน์จดหมายสองซองนี้ มีว่า

นั่นคือการเลือกเปลี่ยนใจจะท�

ำให้ผู้เข้าแข่งขันมีโอกาสชนะเป็นสองเท่าของโอกาสที่จะแพ้ ดังนั้นผู้เล่นจึงควร

เลือกเปลี่ยนใจเสมอในการเล่นเกมประตูดวง

1

3

1

3

1

2

1

2

1 x = 3

1

6

+ = 1

3

1

6

1

6

= 1

3

+ =

=

1

3

1

3

2

3

กรณี 2.2:

ผู้เข้าแข่งขันเลือกประตูที่มีแพะตัวที่สองเป็นครั้งแรกซึ่งมีความน่าจะเป็นเท่ากับ เหตุการณ์

จะมีกรณีเดียวดังนี้

ผู้เข้าแข่งขันเลือกประตูที่มีแพะตัวที่สอง -> พิธีกรเปิดประตูที่มีแพะตัวที่หนึ่ง -> ผู้เข้าแข่งขันเปลี่ยนใจไป

เลือกประตูที่มีรถยนต์ท�

ำให้ผู้เข้าแข่งขันเป็นฝ่ายชนะ

ปฏิทรรศน์มอนตีฮอลล์จากเกมประตูดวงนี้ ผู้สอนสามารถน�

ำไปใช้เป็นกิจกรรมในชั้นเรียนได้จริง ๆ โดยอาจดัดแปลงของรางวัล

รถยนต์และแพะเป็นสิ่งของอื่น ๆ และเปลี่ยนจากประตูเป็นภาชนะที่มิดชิด และให้ผู้เรียนสลับกันเป็นฝ่ายผู้เข้าแข่งขันและพิธีกร

เพื่อส�

ำรวจว่ากติกาและขั้นตอนต่าง ๆ ของเกมมีผลต่อความน่าจะเป็นอย่างไรบ้าง

22

นิตยสาร สสวท.