Previous Page  3 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 3 / 62 Next Page
Page Background

- โฟตอน (photon) - ระดับพลังงาน (energy level)

- ชั่วชีวิต (lifetime) - โพรงเรโซแนนต์ (resonant cavity

หรือ โพรงเลเซอร์ (laser cavity)

- คอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะเพียงพอส�

ำหรับการใช้งาน

โปรแกรม PhET Simulator เรื่อง เลเซอร์ ของมหาวิทยาลัย

โคโลราโด ( สามารถหาข้อมูล system requirements ที่

http :/

/phet.colorado.edu/en/faqs

)

แบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน จากนั้น ให้ผู้เรียน

ร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่ม ( 5 นาที ) เพื่อตอบค�

ำถามต่อไปนี้

- การสร้างแสงเลเซอร์ท�

ำได้อย่างไร วิธีการใดที่จะสามารถ

ท�

ำให้แสงเลเซอร์มีสมบัติพิเศษที่ต่างจากแสงที่มาจากแหล่ง

ก�

ำเนิดอื่น ๆ

- องค์ประกอบส�

ำคัญในการสร้างแสงเลเซอร์มีอะไรบ้าง

-

ระหว่างอภิปราย ผู้สอนพยายามกระตุ้นให้ผู้เรียนอธิบาย

เหตุผลของค�

ำตอบที่สมาชิกในกลุ่มน�

ำเสนอ และหลังจาก

การอภิปราย ให้แต่ละกลุ่มบันทึกข้อตกลงของกลุ่มลงใน

กิจกรรม

ปีที่ 43 ฉบับที่ 193 มีนาคม - เมษายน 2558

3

รักษพล ธนานุวงศ์

นักวิชาการ สาขาฟิสิกส์ สสวท. / e-mail:

rthan@ipst.ac.th

ต้อนรับปีแห่งแสง พ.ศ. 2558 กับกิจกรรมสืบเสาะ

หาความรู้เรื่อง แสงเลเซอร์ (2)

ชุดกิจกรรมเรื่อง แสงเลเซอร์ ประกอบด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ย่อย 3 กิจกรรม มีจุดประสงค์เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจให้กับผู้เรียนใน

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับมหาวิทยาลัย เกี่ยวกับเทคโนโลยีของแสงเลเซอร์ ที่ก�

ำลังมีบทบาทในชีวิตประจ�

ำวันของทุกคนมากขึ้น

นอกจากนี้ ยังเป็นกิจกรรมที่ร่วมช่วยสร้างความตระหนักเกี่ยวกับบทบาทของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของแสง เนื่องในวาระที่องค์การ

สหประชาชาติ(UNited Nations) ได้ประกาศให้ ปี พ.ศ. 2558 เป็นปีแห่งแสง (International Year of Light and Light-Based Technology)

จุดประสงค์หลักคือ การรณรงค์ให้ประชาคมโลกตระหนักถึงความส�

ำคัญของการน�

ำความรู้และเทคโนโลยีเกี่ยวกับแสงมาใช้ในการแก้ปัญหา

และพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ (ผู้สนใจสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับปีแห่งแสงได้ที่

http://www.light2015.org/

Home.html)

กิจกรรมตอนที่ 2 นี้ จะเป็นการน�

ำเสนอกิจกรรมที่จะช่วยสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการและองค์ประกอบหลักที่ใช้ในการสร้างแสง

เลเซอร์ ซึ่งผู้เรียนจะได้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของแสงเลเซอร์กับองค์ประกอบที่ใช้ในการสร้างแสงเลเซอร์ อันจะน�

ำไปสู่ความ

สามารถในการน�

ำแสงเลเซอร์ไปใช้ประโยชน์ ภายใต้บริบทต่าง ๆ ได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ

- อธิบายองค์ ประกอบหลัก ใ นกา รสร้ า ง แส ง เ ล เซอร์

- อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบในการสร้างแสง

เลเซอร์กับลักษณะของแสงเลเซอร์ที่ได้

เวลา

- 90–120 นาที

- การปล่อยที่เกิดเอง (spontaneous emission)

- การปล่อยโดยการกระตุ้น (stimulated emission)

ค�

ำศัพท์ส�

ำคัญ

จุดประสงค์การเรียนรู้

วัสดุอุปกรณ์

แนวการจัดการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2

แสงเลเซอร์สร้างขึ้นได้อย่างไร