

33
ปีที่ 43 ฉบับที่ 195 กรกฎาคม - สิงหาคม 2558
ในชีวิตประจ�
ำวัน
มีการใช้ความรู้ทาง
คณิตศาสตร์มาช่วยในการแก้ปัญหาต่าง ๆ หลายสถานการณ์
เช่น การซื้อของ การเปรียบเทียบเวลาของแต่ละประเทศ หรือ
การท�
ำธุรกรรมทางการเงิน ซึ่งการแลกเปลี่ยนเงินตรานั้นเป็น
การท�
ำธุรกรรมทางการเงินอย่างหนึ่ง เมื่อมีการติดต่อซื้อขาย
หรือเดินทางไปต่างประเทศ ในแต่ละประเทศจะมีการใช้สกุล
เงินที่ไม่เหมือนกัน จึงต้องมีการแลกเปลี่ยนเงินตราและมี
การก�
ำหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราขึ้นเพื่อให้การด�
ำเนินการ
เป็นไปอย่างสะดวก ซึ่งอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราในแต่ละวัน
จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด ดังนั้น เพื่อให้เกิดเสถียรภาพ
และสอดคล้องกับพื้นฐานทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศจึงต้องมี
ผู้ที่ควบคุมดูแล ส�
ำหรับในประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย
เป็นผู้ที่ดูแลควบคุม และให้ข้อมูลกลางของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา
ในแต่ละธนาคารจะมีอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราที่
แตกต่างกัน นั่นเป็นเพราะธนาคารจะใช้ข้อมูลกลางจาก
ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นข้อมูลอ้างอิง และจะน�
ำข้อมูล
นั้นมาคิดค�
ำนวณกับค่าใช้จ่ายในการด�
ำเนินการของธนาคาร
รวมเข้าไปด้วย จึงท�
ำให้แต่ละธนาคารมีอัตราแลกเปลี่ยนที่
แตกต่างกันแต่ใกล้เคียงกัน ซึ่งอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา
มีความส�
ำคัญส�
ำหรับผู้ที่เดินทางไปศึกษาต่อ ไปท�
ำธุรกิจ หรือ
ไปท่องเที่ยวต่างประเทศ และต้องการจะแลกจากเงินบาท
ไปเป็นเงินสกุลอื่น ๆ หรือผู้ที่เดินทางกลับมาจากต่างประเทศ
และมีเงินจากประเทศนั้น ๆ แล้วต้องการจะแลกเป็นเงินบาท
สามารถท�
ำได้เช่นเดียวกัน
ตารางอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราจะมีการน�
ำเสนอข้อมูล
หลัก ๆ ที่เหมือนกัน ได้แก่ สกุลเงิน (Currency) ราคาซื้อ
(Buying) และราคาขาย (Selling) ส่วนรูปแบบในการน�
ำเสนอ
และข้อมูลต่าง ๆ ในตารางอาจแตกต่างกันไปตามแต่ละธนาคาร
ท�
ำไมธนาคารแต่ละธนาคารจึงมีอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา
ที่แตกต่างกัน
ในห้างสรรพสินค้า หรือสนามบิน จะมีบางธนาคารที่มี
ป้ายแสดงตารางอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (Currency Exchange
Rate) ติดอยู่ และถ้าลองสังเกตหลาย ๆ ธนาคาร จะพบว่า
แต่ละธนาคารมีอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราที่แตกต่างกัน ท�
ำไมถึง
เป็นเช่นนั้น ป้ายนั้นมีความส�
ำคัญและเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
ได้อย่างไร
การแลกเปลี่ยนเงินตรา...
คณิตศาสตร์ในชีวิตประจ�
ำวัน
ชนิสรา เรือนนุ่น
นักวิชาการ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษาตอนต้น สสวท. / e-mail:
chrua@ipst.ac.th