Previous Page  35 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 35 / 62 Next Page
Page Background

35

ปีที่ 43 ฉบับที่ 195 กรกฎาคม - สิงหาคม 2558

เช็คเดินทาง. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2558, จาก https://govisa.

wordpress.com/2010/08/04.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 6 มีนาคม 2558, จาก https://

www.bot.or.th/Thai/Statistics/FinancialMarkets/Exchang

eRate/_layouts/Application/ExchangeRate/ExchangeR

ate.aspx

ยูโรโซน. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2558, จาก

http://th.wikipedia.org/

wiki/.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ.

(2556).

หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.

พิมพ์ครั้งที่ 4.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

อัตราการแลกเงินตรา. สืบค้นเมื่อ 6 มีนาคม 2558, จาก http://www.

superrich1965.com/

บรรณานุกรม

จากสถานการณ์การแลกเปลี่ยนเงินตราข้างต้น จะเห็นว่า

คณิตศาสตร์มีอยู่ทุกที่รอบตัวเรา ซึ่งผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมนี้ให้

กับผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง โดยอาจเริ่มกิจกรรมที่แสดงให้

เห็นว่าประเทศไทยก�

ำลังเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

ซึ่งผู้เรียนจะต้องเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ที่แตกต่างออกไป ทั้งทางด้าน

วัฒนธรรม ศาสนา หรือแม้กระทั่งการแลกเปลี่ยนซื้อขายที่มีการใช้

สกุลเงินที่แตกต่างกัน ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมในการก้าวเข้าสู่

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้สิ่งหนึ่งที่ส�

ำคัญ

นั่นคือ การแลกเปลี่ยนเงินตรา โดยผู้สอนอาจให้ผู้เรียนได้เรียนรู้

ถึงสกุลเงินต่าง ๆ ของประเทศในประชาคมอาเซียน จากนั้นขยาย ไปสู่

สกุลเงินของประเทศอื่น ๆ นอกเหนือจากประชาคมอาเซียน และ

เชื่อมโยงเข้าสู่การแลกเปลี่ยนเงินตรา โดยผู้สอนอาจยกตัวอย่าง

สถานการณ์ที่ต้องใช้การแลกเปลี่ยนเงินตรา เช่น การท�

ำธุรกิจ

ระหว่างประเทศ การเดินทางไปท่องเที่ยว หรือการเดินทางไป

ศึกษาต่อ ซึ่งผู้สอนให้ผู้เรียนได้ศึกษาจากตัวอย่างจริงโดยให้

ผู้เรียน ไปสังเกตและเก็บข้อมูลจากธนาคารต่าง ๆ ที่มีตาราง

การแลกเปลี่ยนเงินตราปรากฏอยู่ แล้วน�

ำตารางที่ผู้เรียนหามาได้

นั้นมาเรียนรู้ ถึง การแลกเปลี่ยนเงินตราว่ ามีความส�

ำคัญ

และเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์อย่างไร เมื่อผู้เรียนได้เรียนรู้ถึง

การแลกเปลี่ยนเงินตราแล้ว ผู้สอนอาจขยายกิจกรรมโดยให้ผู้เรียน

ได้จ�

ำลองสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ต้องใช้การแลกเปลี่ยนเงินตรา

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสนุกในการท�

ำกิจกรรมและท�

ำให้เห็นว่า

คณิตศาสตร์มีประโยชน์ และสามารถน�

ำไปใช้ในชีวิตจริงได้

จากสถานการณ์การแลกเปลี่ยนเงินตราข้างต้น จะเห็นว่า

คณิตศาสตร์มีอยู่ทุกที่รอบตัวเรา ซึ่งผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้

คณิตศาสตร์ในชีวิตจริงให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นตัวอย่าง

ที่สามารถน�

ำคณิตศาสตร์ไปใช้ได้ในชีวิตจริง จะท�

ำให้ผู้เรียนมี

ความสนใจและเข้าใจในเนื้อหาคณิตศาสตร์มากยิ่งขึ้น

หรือในทางกลับกัน ถ้ากลับมาจากต่างประเทศและ

ต้องการน�

ำเงินสกุลอื่นมาแลกเป็นเงินบาทสามารถท�

ำได้เช่น

เดียวกัน เช่น มีธนบัตร 50 ดอลลาร์สหรัฐ จ�

ำนวน 3 ใบ และ

มีธนบัตร 20 ดอลลาร์สหรัฐ จ�

ำนวน 2 ใบ จากรูปที่ 3 จะต้อง

ดูที่แถวของ ซึ่งมีราคาซื้อ 32.02 บาท

นั่นคือ 1 ดอลลาร์สหรัฐ สามารถแลกได้ประมาณ

32.02 บาท

ดังนั้น มีเงินอยู่ 150 ดอลลาร์สหรัฐ สามารถแลกได้

ประมาณ 150 X 32.02 = 4,803 บาท

และจะต้องดูที่แถวของ ซึ่งมีราคาซื้อ 31.62 บาท

นั่นคือ 1 ดอลลาร์สหรัฐ สามารถแลกได้ประมาณ

31.62 บาท

ดังนั้น มีเงินอยู่ 40 ดอลลาร์สหรัฐ สามารถแลกได้

ประมาณ 40 X 31.62 = 1,264.80 บาท จะได้ว่า สามารถ

แลกเงินทั้งหมดได้ 4,803 + 1,264.80 = 6,067.80 บาท

หรือประมาณ 6,068 บาท

สมมติว่ามีเงินอยู่ 20,000 บาท และต้องการจะแลก

เป็นเงินเยนของประเทศญี่ปุ่น จากรูปที่ 3 จะต้องดูที่แถวของ

ซึ่งย่อมาจาก Japanese Yen และมีราคาขาย

0.2795 บาท

นั่นคือ 0.2795 บาท สามารถแลกได้ 1 เยน ดังนั้น

มีเงินอยู่ 20,000 บาท สามารถแลกได้ประมาณ

โดยปกติแล้วทางธนาคารจะค�

ำนวณเงินและจ่ายเงิน

เป็นธนบัตรเท่านั้น ซึ่งธนบัตรของประเทศญี่ปุ่นที่มีมูลค่าต�่

ำสุด

คือ 1,000 เยน ดังนั้น ธนาคารจะจ่ายเงินให้ 71,000 เยน

และคืนเงินที่เหลือเป็นเงินบาทไทย

รูปที่ 3 ตารางอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ณ วันที่ 5 มีนาคม 2558