

นิตยสาร สสวท.
34
และถ้าลองสังเกตจะเห็นว่า ในตารางแลกเปลี่ยน
เงินตราของแต่ละธนาคาร ในบางประเทศอาจมีการแลกเปลี่ยน
หลายอัตรา ซึ่งแต่ละธนาคารจะไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับธนาคาร
นั้น ๆ เป็นผู้ก�
ำหนด จากรูปที่ 2 จะเห็นว่าราคาซื้อ (Buying)
ของธนบัตรที่มีมูลค่ามากจะมีอัตราแลกเปลี่ยนสูงกว่าธนบัตร
ที่มีมูลค่ าน้อย
ดังนั้นก่ อนที่ผู้ เดินทางจะกลับมาจาก
ต่างประเทศควรแลกเงินให้เป็นธนบัตรที่มีมูลค่ามาก เพราะเมื่อ
น�
ำมาแลกเป็นเงินบาทจะได้ราคาที่สูงกว่า และเมื่อต้องเดินทางไป
ต่างประเทศผู้เดินทางอาจแลกธนบัตรที่มีมูลค่าน้อยไว้บางส่วน
เพื่อสะดวกต่อการใช้จ่าย
ราคาขาย (Selling)
คือ ราคาที่ธนาคารจะขายให้กับ
ลูกค้า
สงสัยกันไหมว่า ท�
ำไมราคาซื้อและราคาขายจึงไม่เท่ากัน
เช่น จากรูปที่ 1 ถ้ามีเงิน 32.54 บาท จะสามารถแลกเงิน
ดอลลาร์สหรัฐได้ประมาณ 1 ดอลลาร์สหรัฐ แต่ถ้าน�
ำเงิน
1 ดอลลาร์สหรัฐ ไปแลกเป็นเงินบาทไทยจะได้ประมาณ 31.09 บาท
ซึ่งมีส่วนต่างระหว่างราคาซื้อและราคาขายอยู่ที่ 32.54 – 31.09
= 1.31 บาทต่อเงิน 1 ดอลลาร์สหรัฐ นั่นเป็นเพราะส่วนต่างนี้
จะเป็นรายได้ของธนาคาร
ราคาซื้อ (Buying)
คือ ราคาที่ธนาคารรับซื้อจาก
ลูกค้า ซึ่งในช่องราคาซื้อนี้จะสังเกตเห็นว่าช่องถูกแบ่งออกเป็น
สองช่องย่อย คือ Notes กับ T/C โดยช่อง Notes จะเป็นช่องที่
แสดงราคารับซื้อโดยใช้ธนบัตร ส่วนช่อง T/C หรือ Traveller’s
Cheque จะเป็นช่องที่แสดงราคารับซื้อโดยใช้เช็คเดินทาง
ซึ่งเป็นอีกหนึ่งทางเลือกส�
ำหรับผู้ที่เดินทางไปต่างประเทศและ
ไม่ต้องการน�
ำเงินสดจ�
ำนวนมากติดตัวสามารถถือเช็คเดินทาง
นี้แทนเงินสดได้
จากรูปที่ 1 สกุลเงิน (Currency) จะแสดงรูปธงชาติ
ชื่อประเทศ และสกุลเงินของประเทศนั้น ๆ เช่น
หมายถึง ประเทศจีน และใช้สกุลเงินว่า
CNY ซึ่งย่อมาจาก Chinese Yuan หรือเรียกหน่วยเงินว่า หยวน
หมายถึงประเทศสหรัฐอเมริกา และใช้
สกุลเงินว่า USD ซึ่งย่อมาจาก United States Dollar หรือ
เรียกหน่วยเงินว่า ดอลลาร์สหรัฐ
รูปที่ 1 ตารางอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ณ วันที่ 5 สิงหาคม 2558
รูปที่ 2 อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราของประเทศต่าง ๆ ที่มีหลายอัตรา
ณ วันที่ 6 สิงหาคม 2558 (ที่มา :
http://www.superrich1965.com/)ิ
ต
เมื่อทราบถึงข้อมูลต่าง ๆ ในตารางอัตราแลกเปลี่ยน
เงินตราแล้ว ต่อไปจะน�
ำความรู้ทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการ
ค�
ำนวณเงิน ดังนี้
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์อย่างไร