Previous Page  39 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 39 / 62 Next Page
Page Background

39

ปีที่ 43 ฉบับที่ 195 กรกฎาคม - สิงหาคม 2558

Scratch

เป็นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ส�

ำหรับ

สร้างผลงานต่าง ๆ เช่น การท�

ำแอนิเมชัน เกม ดนตรี ศิลปะ

การจ�

ำลองทางวิทยาศาสตร์ การสร้างสื่อแบบมีปฏิสัมพันธ์

โดยมีวิธีการโปรแกรมที่ไม่ต้องพิมพ์ค�

ำสั่งที่ยุ่งยากซับซ้อนเพียง

น�

ำบล็อกค�

ำสั่งมาวางเรียงต่อกันตามล�

ำดับการท�

ำงาน ซึ่งบล็อก

ค�

ำสั่งนี้จะมีลักษณะคล้ายชิ้นส่วนจิ๊กซอว์ ดังรูปที่ 1 จึงง่าย

ต่อการโปรแกรมและเหมาะกับการสอนหลักการโปรแกรมที่

ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีระบบและ

การท�

ำงานร่วมกัน นอกจากนี้ยังสามารถเผยแพร่และแลกเปลี่ยน

ผลงานผ่านทางเว็บไซต์

http://scratch.mit.edu/

โปรแกรม Scratch

ประกอบด้วยโครงสร้างหลัก

3 ส่วน ได้แก่ เวที (Stage) ตัวละคร (Sprite) และสคริปต์

(Script) โดยแต่ละส่วนมีความสัมพันธ์กันและท�

ำงานร่วมกัน

การเขียนโปรแกรม Scratch ท�

ำได้โดยการเขียนสคริปต์สั่งให้

ตัวละครท�

ำงาน ณ ต�

ำแหน่งต่าง ๆ บนเวที เพื่อให้ตัวละคร

เคลื่อนที่ เปลี่ยนแปลงรูปร่าง แสดงอิริยาบถต่าง ๆ เช่น พูด เดิน

เปลี่ยนสี เปลี่ยนขนาด ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างเทคนิคเบื้องต้น

ส�

ำหรับเปลี่ยนแปลงตัวละคร เพื่อเป็นประโยชน์ในการประยุกต์

ให้ตัวละครเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ เพิ่มขึ้นตามจินตนาการ

ของผู้เขียนโปรแกรม

การวางแผนก่อนการเขียนโปรแกรม จะช่วยให้สามารถ

ตรวจสอบข้อผิดพลาดจากการเขียนโปรแกรมได้ง่ายยิ่งขึ้น

ท�

ำให้ได้ผลลัพธ์ถูกต้อง ตรงตามความต้องการ ซึ่งสามารถท�

ำได้

โดยการถ่ายทอดความคิดเป็นข้อความหรือเขียนผังงาน

เทคนิคเบื้องต้นส�

ำหรับเปลี่ยนแปลง

ตัวละคร

Scratch

รูปที่ 1 บล็อกค�

ำสั่งที่เรียงต่อกันคล้ายชิ้นส่วนจิ๊กซอว์

พรพิมล ตั้งชัยสิน

นักวิชาการ สาขาคอมพิวเตอร์ สสวท. / e-mail:

ptang@ipst.ac.th