Table of Contents Table of Contents
Previous Page  1 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 1 / 62 Next Page
Page Background

คณะที่ปรึกษา

ประธานกรรมการ สสวท.

ผู้อำ

�นวยการ สสวท.

บรรณาธิการบริหาร

ธรชญา พันธุนาวนิช

ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ

รองผู้อำ

�นวยการ สสวท.

ผู้ช่วยผู้อำ

�นวยการ สสวท.

หัวหน้ากองบรรณาธิการ

พงษเ์ทพ บุญศรีโรจน์

กองบรรณาธิการ

ดร.กุศลิน มุสิกุล

ดร.ชัยวุฒิ เลิศวนสิริวรรณ

ณรงค์ แสงแก้ว

ถนิม ทิพย์ผ่อง

ธันยากานต์ ยืนตระกูลชัย

นวรัตน์ อินทุวงศ์

เบ็ญจวรรณ ศรีเจริญ

ประกายกานต์ ตรีอาภรณ์

ดร.ประสงค์ เมธีพินิตกุล

ปาริฉัตร พวงมณี

พรพจน์ พุฒวันเพ็ญ

ราม ติวารี

ดร.วนิดา ธนประโยชน์ศักดิ์

วราภรณ์ ต.วัฒนผล

สมเกียรติ เพ็ญทอง

สุพจน์ วุฒิโสภณ

ดร.สุพรรณี ชาญประเสริฐ

ดร.สุพัตรา ผาติวิสันติ์

อุปการ จีระพันธุ

ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ

ดร.สมชาติ ไพศาลรัตน์

ดร.อนุชิต อารมณ์สาวะ

นิลุบล กองทอง

รัชนีกร มณีโชติรัตน์

สินีนาฎ ทาบึงกาฬ

ดวงมาลย์ บัวสังข์

สิริมดี นาคสังข์

สุประดิษฐ์ รุ่งศรี

เจ้าของ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย

กรุงเทพมหานคร 10110

โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307

Call Center: 0-2335-5222

(ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท.

หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง

โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย

จักเป็นพระคุณยิ่ง)

วัตถุประสงค์

1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป

2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของสสวท.

3. เสนอความก้าวหน้า​ของวิทยาการในด้านการศึกษา

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน

การศึกษา​ของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน

4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ

ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี

จากครูและผู้สนใจทั่วไป

การศึกษาเรียนรู้ อย่ างเป็นระบบจะช่ วยให้ เราเข้ าใจอย่ างถ่ องแท้กับ

ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นรอบๆ ตัวเราได้ จากข่าวภัยพิบัติแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นเราควร

ลองใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ในเรื่องนี้กันด้วยข้อมูลที่ได้จากกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อเตรียมรับมือและบรรเทาความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

ภายในเล่มท่านจะทราบว่า สสวท. ได้ผลักดันและขับเคลื่อนวิทยาศาสตร์ศึกษา

ของไทยอย่างไร ผ่านบทสัมภาษณ์ผู้อ�

ำนวยการ สสวท. ดร.พรพรรณ ไวทยางกูร

และจากนั้นจะพาน้องๆ นักเรียนไปพบกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

(STEM Education) 2 เรื่อง คือ สังเคราะห์น�้

ำหอมกลิ่นไหนดี และ ตระหนักรู้ในประโยชน์

ของขี้แดดนาเกลือ ให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างสนุกสนาน และใช้กระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์กับสิ่งรอบตัว ตลอดจนโรงเรียนต่างๆ สามารถน�

ำไปประยุกต์กับการจัดกิจกรรม

การเรียนรู้ได้

กลไกก้าวเดินที่มีชื่อเสียง สตรันด์เบสต์ (Strandbeest) เป็นประติมากรรม

ที่ผสมผสานระหว่างศิลปะและวิศวกรรมศาสตร์ไว้อย่างลงตัว เมื่อเราจ�

ำลองกลไก

บนโปรแกรม GSP จะช่วยให้เราศึกษาการท�

ำงานพื้นฐาน เพื่อพัฒนาสู่การก้าวเดิน

ของยานพาหนะและหุ่นยนต์ เพราะการพัฒนาที่ยิ่งใหญ่มาจากสิ่งเล็กๆ รอบตัวเรา เช่น

นาซาพัฒนายานอวกาศจากซีพียูเกม เป็นเพราะเหตุใดพลิกอ่านได้เลย...

ในเล่มหน้า ทีมงานจะหาประเด็นที่น่าสนใจมาฝากคอยติดตามกันนะ...สวัสดี

บรรณาธิการบริหาร

เปิดเล่ม

สสวท.

ปีที่ 44 ฉบับที่ 199 มีนาคม - เมษายน 2559