

7
ปีที่ 44 ฉบับที่ 199 มีนาคม-เมษายน 2559
ดร.สนธิ พลชัยยา
•
นักวิชาการ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สสวท.
•
e-mail:
sopho@ipst.ac.thรอบรู้
วิทย์
ผลไม้หรือดอกไม้หลายชนิดที่พบในธรรมชาติ
เช่น กล้วยหอม แอปเปิล ดอกมะลิ ฯลฯ ล้วนมีกลิ่นหอม
ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว กลิ่นหอมเหล่านี้เกิดจาก เอสเทอร์
(Ester) ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ประเภทหนึ่ง ที่มีกลิ่นพิเศษเฉพาะตัว
จึงนิยมน�
ำมาสกัดท�
ำเป็นน�้
ำหอมและเป็นสารปรุงแต่งกลิ่น
อาหาร เอสเทอร์มีสูตรทั่วไป คือ RCOOR ′ ดังสูตรโครงสร้าง
เมื่อ R คือ ไฮโดรเจน หมู่แอลคิล หรือหมู่แทนที่ไฮโดรคาร์บอนอื่น
R ′ คือ หมู่แอลคิล หรือหมู่แทนที่ไฮโดรคาร์บอนอื่น
เอสเทอร์
R OR'
C
O
กิจกรรมเรื่อง
“สังเคราะห์น�้
ำหอมกลิ่นใดดี”
จะเปิดโอกาสให้นักเรียนสังเคราะห์เอสเทอร์จากปฏิกิริยา
เอสเทอริฟิเคชัน (esterification) ระหว่างกรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) กับแอลกอฮอล์ (alcohol) ดังสมการ
ในการท�
ำกิจกรรมการเรียนเรื่องนี้ นักเรียนจะได้
บูรณาการความรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี คณิตศาสตร์ และ
วิศวกรรมศาสตร์ ดังแผนผังในรูปที่ 1
R
OH
C
O
H
O R'
R
OR'
C
O
H
2
O
+
+
H
กรดคาร์บอกซิลิก แอลกอฮอล์
เอสเทอร์
น้ำ
�
(เข้มข้น)
วิทยาศาสตร์
หมู่ฟังก์ชันของสารอินทรีย์
ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน
คณิตศาสตร์
คำ
�นวณปริมาณสารตั้งต้นที่ต้องใช้
จากค่าโมลที่กำ
�หนด
การนำ
�เสนอข้อมูลในรูป ร้อยละ กราฟ
หรือแผนภูมิ
เทคโนโลยี
การใช้ ICT สืบค้นข้อมูล
การใช้โปรแกรมสำ
�เร็จรูป
ในการคำ
�นวณหรือแสดงผล
การนำ
�องค์ความรู้เกี่ยวกับ
การสังเคราะห์เอสเทอร์มาใช้
วิศวกรรมศาสตร์
กระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรมศาสตร์
1. ระบุปัญหา
2. ศึกษาแนวคิดที่เกี่ยวข้อง
3. วางแผนและพัฒนา
4. ทดสอบและประเมินผล
5. นำ
�เสนอผลลัพธ์
รูปที่ 1
แผนผังแสดงการบูรณาการสะเต็มศึกษา
0
ปะรด
ขี้นก
ระกำ
ลารัม
แพร
องุน
มะลิ
ลวย
สม
ปเปล
5
10
15
20
25
สังเคราะห์น้ำ
�หอมกลิ่นใดดี
กับกลิ่นน�้
ำหอมที่เย้ายวนใจ
สะเต็มศึกษา