Table of Contents Table of Contents
Previous Page  12 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 12 / 62 Next Page
Page Background

12

นิตยสาร สสวท

เมื่อวางแผนและออกแบบวิธีการสังเคราะห์เอสเทอร์เรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนน�

ำแผนแบบไปแสดงให้ครูดูเพื่อ

รับการอนุญาตสังเคราะห์เอสเทอร์ จากนั้นน�

ำแผนแบบที่ผ่านการอนุญาตไปแสดงต่อผู้ช่วยครูเพื่อรับสารเคมีและอุปกรณ์

ขณะท�

ำการสังเคราะห์เอสเทอร์ ครูและผู้ช่วยครูอาจคอยให้ความช่วยเหลือและดูแลอย่างใกล้ชิด

เมื่อนักเรียนสังเคราะห์เอสเทอร์ได้แล้ว นักเรียน

เทเอสเทอร์ที่สังเคราะห์ได้ลงในขวดที่ครูเตรียมไว้ให้จาก

นั้นสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มทดสอบกลิ่นเอสเทอร์สังเคราะห์

เทียบกับกลิ่นน�้

ำหอมต้นแบบ นอกจากนี้ก็ก�

ำหนดให้เพื่อน

ต่างกลุ่ม เพื่อนนอกชั้นเรียน ครูและผู้ช่วยครูช่วยกันทดสอบ

ถ้ามีผู้ให้ความเห็นว่าสารเอสเทอร์มีกลิ่นแตกต่างจากน�้

ำหอม

ต้นแบบหรือกลิ่นไม่หอม หรือกลิ่นไม่แตกต่างจากสารตั้งต้น

ที่ใช้มากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ของผู้ทดสอบกลิ่น นักเรียนต้อง

สังเคราะห์เอสเทอร์ใหม่อีกครั้งหนึ่ง

3.2 ด�เนินการสังเคราะห์เอสเทอร์

4. ทดสอบและประเมินผล

รูปที่ 3

นักเรียนด�

ำเนินการสังเคราะห์เอสเทอร์

รูปที่ 4

ตัวอย่างโปสเตอร์และการน�

ำเสนอของนักเรียน

ตารางที่ 2

ผลการทดสอบกลิ่น (N = 12)

ครูให้นักเรียนท�

ำโปสเตอร์เพื่อน�

ำเสนอผลงาน โดย

พิจารณาประเด็น การเลือกกลิ่นน�้

ำหอม วิธีสังเคราะห์ ผลการ

สังเคราะห์ กลยุทธ์การตลาด สโลแกน จากนั้น นักเรียน ครู

และผู้ช่วยครูร่วมกันลงคะแนนเลือกกลุ่มที่ชอบมากที่สุด ดังนี้

- กลุ่มที่น�

ำเสนอดีที่สุด 1 กลุ่ม

- กลุ่มที่ท�

ำโปสเตอร์ได้สวยที่สุด 1 กลุ่ม

- กลุ่มที่มีแผนการตลาดและสโลแกนยอดเยี่ยม 1 กลุ่ม

5. น�เสนอผลลัพธ์

ล�

ำดับ

การลงความเห็น ข้อสรุป เปอร์เซ็นต์

1

กลิ่นของเอสเทอร์คล้าย

กับน้ำ

�หอมต้นแบบ

มีกลิ่นหอม หรือ

กลิ่นแตกต่างจาก

สารตั้งต้นที่ใช้

ผ่านเกณฑ์ 83.33

2

กลิ่นของเอสเทอร์แตก

ต่างจากน้ำ

�หอมต้นแบบ

กลิ่นไม่หอม หรือ

กลิ่นไม่แตกต่างจาก

สารตั้งต้นที่ใช้

ไม่ผ่าน

เกณฑ์ 16.67