Table of Contents Table of Contents
Previous Page  8 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 8 / 62 Next Page
Page Background

8

นิตยสาร สสวท

แนวทางการจัดกิจกรรม

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง “สังเคราะห์น�้

ำหอมกลิ่นใดดี” ได้ด�

ำเนินตามลักษณะส�

ำคัญของ

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมศาสตร์ อันได้แก่ ระบุปัญหา ศึกษาแนวคิดที่เกี่ยวข้อง วางแผนและพัฒนา

ทดสอบและประเมินผล และน�

ำเสนอผลลัพธ์

1. ระบุปัญหา

2. ศึกษาแนวคิดที่เกี่ยวข้อง

2.1 ส�รวจกลิ่นเอสเทอร์หรือน�้

ำหอมที่ชื่นชอบ

ในการจัดกิจกรรมเรื่อง

“สังเคราะห์น�้

ำหอมกลิ่นใดดี”

ครูเริ่มต้นกิจกรรมโดยให้นักเรียนศึกษา

สถานการณ์ที่ครูก�

ำหนด จากนั้นให้นักเรียนอภิปรายเรื่อง ปัญหา ข้อจ�

ำกัด และภารกิจที่นักเรียนต้องท�

ำสถานการณ์

ที่ก�

ำหนด

ภารกิจที่นักเรียนต้องท�

ำในขั้นตอนของการค้นหาแนวคิดที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส�

ำรวจกลิ่นเอสเทอร์

หรือน�้

ำหอมที่กลุ่มเป้าหมายชื่นชอบ และเลือกเอสเทอร์ที่จะสังเคราะห์ แล้วศึกษาวิธีสังเคราะห์เอสเทอร์นั้น

ในกิจกรรมนี้ ครูได้เตรียมเอสเทอร์หรือน�้

ำหอมไว้ 10 ชนิด บางชนิดได้จากการสังเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ

บางชนิดได้จากสารแต่งกลิ่นอาหาร และบางชนิดจากน�้

ำหอมส�

ำหรับฉีดในห้องนอนหรือห้องรับแขก จากนั้น

นักเรียนแต่ละกลุ่มออกส�

ำรวจกลิ่นน�้

ำหอมที่มีผู้ชื่นชอบมากที่สุด โดยสุ่มถามนักเรียนในโรงเรียนเดียวกัน

ตั้งแต่ม.1 – ม.6 และมีช่วงอายุ 13 – 18ปีจากนั้นนักเรียนน�

ำข้อมูลที่ได้มาสร้างตารางแจกแจงความถี่หรือจัดท�

ำข้อมูล

ในรูปกราฟ

สมมติว่านักเรียนเป็นนักเคมีในสังกัดบริษัทน�้

ำหอมแห่งหนึ่ง โดยมีกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

คือผู้ใหญ่อายุตั้งแต่ 25 – 40 ปี และบริษัทได้เปิดกิจการมานาน 15 ปี แต่ในช่วง 2 – 3 ปีหลังพบว่า

ประสบการขาดทุน เนื่องจากบุคคลในช่วงอายุดังกล่าวไม่นิยมใช้น�้

ำหอมเหมือนในอดีต

ดังนั้นทางบริษัทจึงจัดประชุมและได้ข้อสรุปว่าจะผลิตน�้

ำหอมส�

ำหรับวัยรุ่นอายุ 13 – 18 ปี

โดยทางบริษัทต้องการให้นักเรียนไปส�

ำรวจกลิ่นน�้

ำหอมที่กลุ่มเป้าหมายชื่นชอบ และให้นักเรียนคิดค้น

สูตรการสังเคราะห์น�้

ำหอมที่มีกลิ่นดังกล่าว โดยใช้อุปกรณ์และสารเคมีที่มีในห้องปฏิบัติการเท่านั้น

นอกจากนี้นักเรียนต้องออกแบบโปสเตอร์และสโลแกนขายน�้

ำหอมด้วย โดยนักเรียนต้องท�

ำภารกิจทุกอย่าง

ให้เสร็จภายในเวลา 6 ชั่วโมง

เนื่องจากเนื้อหาเกี่ยวกับหมู่ฟังก์ชันและเคมีอินทรีย์เป็นเนื้อหาใหม่ส�

ำหรับนักเรียน ดังนั้นก่อน

การสืบค้นหาองค์ความรู้และวิธีการที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์เอสเทอร์ ครูควรอธิบายความรู้พื้นฐาน

เกี่ยวกับหมู่ฟังก์ชันและสารอินทรีย์ประเภทกรดคาร์บอกซิลิก แอลกอฮอล์ และเอสเทอร์ รวมถึงปฏิกิริยา

เอสเทอริฟิเคชัน พร้อมปูพื้นความเข้าใจของนักเรียน เมื่อนักเรียนมีองค์ความรู้พื้นฐานเพียงพอแล้ว ครูให้นักเรียน

เลือกชนิดของเอสเทอร์ที่จะสังเคราะห์ โดยนักเรียนอาจใช้ข้อมูลจากตารางที่ 1 หรือสืบค้นจากแหล่งอื่นๆ เช่น

อินเทอร์เน็ต จากนั้นนักเรียนเขียนเอกสารอธิบายเหตุผลการตัดสินใจเลือกเอสเทอร์ชนิดดังกล่าว และขอรับ

การอนุมัติสังเคราะห์เอสเทอร์จากครู ตัวอย่างเอกสารประกอบการเลือกเอสเทอร์ได้แสดงดังรูปที่ 2

2.2 เลือกเอสเทอร์ที่จะสังเคราะห์