Table of Contents Table of Contents
Previous Page  18 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 18 / 62 Next Page
Page Background

18

นิตยสาร สสวท

ผู้เขียนขอขอบคุณ คุณบุญปรอด เจริญฤทธิ์ จากโรงเรียนการท�

ำนาเกลือสมุทรสงคราม และคุณครูผู้ดูแลค่ายวิชาการ

จากโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ทุกคนในการให้ค�

ำแนะน�

ำระหว่างการท�

ำ mini-project ของนักเรียน และขอบคุณงบประมาณ

การจัดค่ายจากโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครปฐม

กรอบความรู้

กระบวนการทำ�นาเกลือ

กระบวนการท�

ำนาเกลือประกอบไปด้วยแปลง

นาชนิดต่าง ๆ ดังนี้ (1) นาวังหรือนาขัง ส�

ำหรับกักน�้

ทะเลไว้ใช้ และให้สิ่งเจือปนต่าง ๆ ตกตะกอนก่อนปล่อย

น�้

ำเข้านาขั้นต่อไปโดยใช้กังหันลม หรือเครื่องสูบน�้

ำ (2)

นาตาก ท�

ำหน้าที่ตากน�้

ำทะเลด้วยแสงแดดเพื่อท�

ำให้น�้

ระเหยไป ท�

ำให้ความเข้มข้นของเกลือที่ละลายอยู่มีค่า

ประมาณ 6-16 องศาโบเม่ โดยการใช้ไฮโดรมิเตอร์วัด

ความเค็ม (3) นารองเชื้อ มีความเข้มข้นของเกลือ

ประมาณ 18-20 องศาโบเม่ (4) นาเชื้อ มีความเข้มข้น

ของเกลือประมาณ 22-23 องศาโบเม่ โดยจะพบการ

ตกผลึกของเกลือจืดหรือยิปซัม (CaSO

4

) และ (5) นาปลง

ซึ่งเป็นบริเวณที่น�้

ำทะเลเป็นสารละลายอิ่มตัวมากมี

ความเข้มข้นของเกลือสูงถึง 24-25 องศาโบเม่ ท�

ำให้

เกลือตกผลึกลงสู่ท้องนา หลังจากนั้นชาวนาเกลือ

ก็จะรื้อเกลือ แล้วน�

ำไปเก็บในยุ้งเพื่อรอจ�

ำหน่ายต่อไป

กำ�เนิดขี้แดดนาเกลือ

ชาวนาเกลือจะหยุดพักการท�

ำนาเกลือในฤดูฝน

คือระหว่ างเดือนพฤษภาคม-เดือนตุลาคมของทุกปี

น�้

ำฝนที่ขังอยู่ในนาจึงท�

ำให้ตะไคร่น�้

ำ สาหร่าย และจุลินทรีย์

บางชนิดเจริญเติบโต เมื่อเข้าสู่ฤดูการท�

ำนาเกลือคือเดือน

พฤศจิกายน จะมีการปล่อยน�้

ำออกจากแปลงนาท�

ำให้

ตะไคร่น�้

ำ สาหร่ายและจุลินทรีย์จับตัวกันเป็นแผ่นแห้ง

และแตกระแหง ชาวนาเกลือเรียกว่า “ดินหนังหมา หรือ

ขี้แดดนาเกลือ” โดยพื้นที่ 1 ไร่ จะมีขี้แดดนาเกลือตั้งแต่

500-1,000 กิโลกรัม เมื่อน�

ำไปวิเคราะห์องค์ประกอบทาง

เคมีพบว่ามีธาตุโพแทสเซียม 2% และฟอสฟอรัส 0.13%

จึงสามารถน�

ำมาเป็นปุ๋ยอินทรีย์เพื่อเร่งการเติบโตของ

ส้มโอ แตงโม ละมุด พุทรา และผักบางชนิดได้

กลุ่มของตะไคร่น�้

ำและสาหร่าย (ขี้แดดนาเกลือสด)

ขี้แดดนาเกลือ

บรรณานุกรม

ชมวิวทิวทัศน์. (2557).

เปลี่ยนขยะจากนาเกลือเป็นปุ๋ยอินทรีย์ชั้นดี "ขี้แดดนาเกลือ หรือดินหนังหมา"

. สืบค้นเมื่อ

25 พฤศจิกายน 2558, จาก

http://www.oknation.net/blog/thaitourismsociety/2014/07/20/entry-1

บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ. (2550). การจัดค่ายวิทยาศาสตร์แบบองค์รวม.

วารสาร สควค.

4, หน้า 10-11.

เว็บไซต์แหล่งเรียนรู้ออนไลน์. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). เรื่อง แหล่งเรียนรู้นาเกลือ สืบค้นเมื่อ

15 พฤศจิกายน 2558, จาก

http://fieldtrip.ipst.ac.th/intro_content.php?content_id=7