Table of Contents Table of Contents
Previous Page  19 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 19 / 62 Next Page
Page Background

ดร.รณชัย ปานะโปย

นักวิชาการ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ สสวท.

e-mail:

rpana@ipst.ac.th

รอบรู้

คณิต

19

ปีที่ 44 ฉบับที่ 199 มีนาคม-เมษายน 2559

ในการจัดการศึกษาคณิตศาสตร์ระดับ

โรงเรียน นักการศึกษาคณิตศาสตร์ ทั่วโลก

มีความมุ่งหวังจะพัฒนาให้ผู้ เรียนมีความรู้

ความสามารถด้านเนื้อหา ทักษะ และกระบวนการ

ทางคณิตศาสตร์ หลักฐานที่ใช้สนับสนุนมุมมองนี้

ได้เป็นอย่างดี คือ กรอบมาตรฐานหลักสูตร

คณิตศาสตร์ระดับโรงเรียนของแต่ละประเทศ

ซึ่งมักจะประกอบด้วยส่วนที่ส�

ำคัญอย่างน้อย

สองส่วน คือ

มาตรฐานด้านเนื้อหา (content

standards)

และ

มาตรฐานที่เกี่ยวข้ องกับ

การเรียนรู้คณิตศาสตร์

ซึ่งรวมถึงมาตรฐาน

ด้านกระบวนการ (process standards) ด้วย

คุณลักษณะ

ที่พึงประสงค์

เชิงคณิตศาสตร์

กรอบหลักสูตรคณิตศาสตร์ ระดับโร ง เรียน

ของแต่ละประเทศจะมีมาตรฐานด้านเนื้อหาคณิตศาสตร์

ไม่แตกต่างกันมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเนื้อหาในเรื่องจ�

ำนวน

พีชคณิต การวัด และเรขาคณิต เพราะเป็นเนื้อหาที่เป็น

พื้นฐานความรู้ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�

ำวัน และการศึกษา

ต่อในระดับที่สูงขึ้น จะแตกต่างกันอยู่บ้างก็แต่เพียงชั้นปี

ที่นักเรียนเรียนเนื้อหาเหล่านี้ ส่วนมาตรฐานด้านกระบวนการ

ของแต่ละประเทศอาจมีบางส่วนที่แตกต่างกัน เพื่อแสดง

ให้เห็นจุดเน้นเกี่ยวกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ของ

ประเทศนั้นๆ

บทความนี้จะแนะน�

ำให้ผู้อ่านรู้จัก มาตรฐาน

ส�

ำหรับคุณลักษณะที่พึงประสงค์เชิงคณิตศาสตร์ หรือที่เรียกว่า

Standards for Mathematical Practices

ซึ่งมีการเผยแพร่

ในปี ค.ศ. 2010 ภายใต้กรอบหลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศ

สหรัฐอเมริกา ที่รู้จักกันในชื่อ Common Core State Standards

for Mathematics (CCSSM) กรอบหลักสูตรนี้จัดท�

ำขึ้นโดย

Council of Chief State School Officers และ National

Governors Association Center for Best Practices และมิได้

มีการบังคับใช้ แต่ให้อยู่ในดุลยพินิจของแต่ละรัฐ ถึงปัจจุบัน

(กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559) มี 42 รัฐในสหรัฐอเมริกาที่ได้น�

ำกรอบ

หลักสูตรนี้ไปใช้แล้ว