Table of Contents Table of Contents
Previous Page  24 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 24 / 62 Next Page
Page Background

24

นิตยสาร สสวท

บรรณานุกรม

National Council of Teachers of Mathematics. (2000).

Principles and Standards for School Mathematics

. Reston, VA: Author.

National Governors Association Center for Best Practices & Council of Chief State School Officers. (2010).

Common Core

State Standards for Mathematics

. National Governors Association Center for Best Practices & Council of Chief

State School Officers, Washington D.C.

National Research Council. (2001).

Adding it up: Helping children learn mathematics

. J. Kilpatrick, J. Swafford, & B. Findell

(Eds.). Mathematics Learning Study Committee, Center for Education, Division of Behavioral and Social Sciences

and Education. Washington, DC: National Academy Press.

Parker, F. & Novak, J. (2012).

Implementing the common core mathematical practices.

ASCD Express, 8

(5). Retrieved Mar 25, 2016,

from

http://www.ascd.org/ascd-express/vol8/805-parker.aspx

จิรรัตน์จตุรานนท์. (2555). การศึกษาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน

ของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์.

วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 7

(1), หน้า 747-761.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555).

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์.

พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: 3-คิว มีเดีย.

ส�

ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, ส�

ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553).

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.

กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

อัมพร ม้าคนอง. (2553).

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์: การพัฒนาเพื่อพัฒนาการ

. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

แม้ว่าการปฏิรูปการศึกษาคณิตศาสตร์ของไทย

จะได้พยายามให้นักเรียนรู้เนื้อหาคณิตศาสตร์ผ่านทักษะ

และกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือมาโดยตลอด

ดังปรากฏในเอกสารทางวิชาการและงานวิจัยต่างๆ (จิรรัตน์

จตุรานนท์, 2555; สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี, 2555; อัมพร ม้าคนอง, 2553) แต่ผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของนักเรียนที่เป็นภาพรวมของ

ประเทศซึ่งสะท้อนให้เห็นในระดับนานาชาติยังไม่ดีนัก ดังนั้น

คงเป็นหน้าที่ของนักการศึกษาคณิตศาสตร์ทุกคนที่จะต้อง

ช่วยกันพัฒนาต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูคณิตศาสตร์

ที่จะต้องช่วยพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์เชิงคณิตศาสตร์

ให้เกิดขึ้นในตัวนักเรียน ครูคณิตศาสตร์อาจใช้กรอบแนวคิด

เกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์เชิงคณิตศาสตร์ท�

ำความ

เข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายของการเรียนคณิตศาสตร์ และใช้

เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะ

ที่ยังขาดในตัวนักเรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถคิดอย่าง

คณิตศาสตร์และแก้ปัญหาได้ เพื่อจะได้เติบโตเป็นพลเมือง

ที่มีคุณภาพของประเทศต่อไป