Previous Page  11 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 11 / 62 Next Page
Page Background

11

ปีที่ 41 ฉบับที่ 181 มีนาคม - เมษายน 2556

ตำ

�แหน่ง 1

ด้านที่หันเข้าหาโลกของดวงจันทร์ไม่ได้รับแสง

จากดวงอาทิตย์ เราจึงมองไม่เห็นดวงจันทร์ เรียกว่า

วันเดือนดับ

ตรงกับแรม 15 ค่ำ

� ภาษาอังกฤษใช้คำ

�ว่า

new moon

บนท้องฟ้า

ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์อยู่ทางทิศเดียวกัน ขึ้น-ตกพร้อมกัน

เวลา 18.00 น. อยู่ทางตะวันตก (W) เวลา 06.00 น. อยู่ทาง

ตะวันออก (E)

ตำ

�แหน่ง 2

ด้านที่หันเข้าหาโลกของดวงจันทร์ได้รับแสง

จากดวงอาทิตย์เสี้ยวหนึ่ง และเสี้ยวนี้เองที่สะท้อนแสงมายังโลก

ทำ

�ให้เราเห็นเป็นจันทร์เสี้ยว เป็นเสี้ยวบางส่วนของ ข. และ ค. เรียก

ว่า เสี้ยวข้างขึ้นประมาณ 4 ค่ำ

� ตรงกับภาษาอังกฤษว่า

waxing

crescent moon

ด้านนูนหรือด้านสว่างของดวงจันทร์ซึ่งเป็นส่วน

หนึ่งของ ข. และ ค. หันไปทางทิศตะวันตก เช่น เมื่อเวลา 18.00 น.

ดวงอาทิตย์อยู่ที่ขอบฟ้าตะวันตก และดวงจันทร์ก็หันด้านนูนไป

ทางนั้น เห็นเป็นรูปริมฝีปากกำ

�ลังยิ้ม อยู่สูงจากขอบฟ้าตะวันตก

ประมาณ 45 ° ณ ตำ

�แหน่งนี้ดวงจันทร์อยู่ห่างไปทางตะวันออก

ของดวงอาทิตย์ประมาณ 45 ° ขอบฟ้าตะวันออกพบดวงจันทร์

หรือดวงจันทร์ขึ้นเมื่อเวลา 09.00 น.

ตำ

�แหน่ง 3

ครึ่งหนึ่งของส่วนสว่างของดวงจันทร์หันเข้าหา

โลก เราจึงเห็นดวงจันทร์บนฟ้าเป็นรูปครึ่งวงกลมหรือครึ่งดวง

เห็นทุกส่วนของ ข. และ ค. รวมทั้งเห็นจุดใกล้โลกที่สุด (O) ด้วย

อยู่สูงสุดบนฟ้าในเวลาหัวค่ำ

� หันด้านนูนไปทางทิศตะวันตก ตรง

กับข้างขึ้น 8 ค่ำ

� ภาษาอังกฤษเรียกว่า

first quarter moon

คือ

เป็น 1 ใน 4 แรกของดวงจันทร์ที่ปรากฏให้เห็น ขอบฟ้าตะวัน

ออกสัมผัสดวงจันทร์หรือดวงจันทร์ขึ้นเมื่อเวลา 12.00 น. เมื่อ

โลกหมุนพาเราไปอยู่ที่เวลา 24.00 น. ขอบฟ้าตะวันตกจะชี้ไปทาง

ดวงจันทร์ นั่นคือดวงจันทร์ข้างขึ้น 8 ค่ำ

�ตกเมื่อเวลาประมาณเที่ยง

คืน ตำ

�แหน่งนี้ดวงจันทร์อยู่ห่างดวงอาทิตย์ไปทางตะวันออก 90 °

ตำ

�แหน่ง 4

ดวงจันทร์หันด้านสว่างมาทางโลกมากขึ้น เห็น

ทุกส่วนของ ข. และ ค. เห็นบางส่วนของ ก. และ ง. รวมทั้งเห็น

O ดวงจันทร์จึงเป็นรูปค่อนดวงข้างขึ้น ด้านสว่างหันไปทางตะวัน

ตก ดวงจันทร์ขึ้นจากขอบฟ้าตะวันออกเมื่อเวลา 15.00 น. ซึ่งเป็น

เวลากลางวัน ตำ

�แหน่งนี้เป็นดวงจันทร์ข้างขึ้นประมาณ 11-12 ค่ำ

อยู่ทางตะวันออกดวงอาทิตย์ 135 ° ดวงจันทร์ค่อนดวงข้างขึ้นตรง

กับภาษาอังกฤษว่า

waxing gibbous moon

ตำ

�แหน่ง 5

ด้านที่หันมาทางโลกของดวงจันทร์ได้รับแสงแดด

เต็มที่เพราะอยู่ตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ เราจึงเห็นเป็นรูปวงกลม

หรือจันทร์เพ็ญ

(full moon)

เห็นทุกส่วน ก. ข. ค. ง. และ O

ตรงกับข้างขึ้น 15 ค่ำ

� เห็นเวลากลางคืนตลอดทั้งคืน เพราะขึ้น

เวลาหัวค่ำ

�และตกเวลารุ่งเช้าของวันใหม่

ตำ

�แหน่ง 6

ดวงจันทร์อยู่ห่า ง ไปทา งทิศตะวันตกของ

ดวงอาทิตย์เป็นมุม 135 ° ด้านที่หันมาทางโลกเสี้ยวหนึ่งไม่ได้

รับแสงแดด เราจึงเห็นดวงจันทร์เป็นรูปค่อนดวงโดยเห็นทุก

ส่วนของ ก. ง. และเห็นบางส่วนของ ข. ค. รวมทั้งเห็น O เป็น

ค่อนดวงคล้ายตำ

�แหน่ง 4 แต่ไม่เหมือนกันเพราะตำ

�แหน่ง 4

คนบนโลกเห็น ข. ค. ทั้งหมด และเห็นบางส่วนของ ก. ง. ดวง

จันทร์ในตำ

�แหน่ง 6 เป็นดวงจันทร์ข้างแรมประมาณ 4 ค่ำ

หันด้านสว่างไปทางดวงอาทิตย์คือ ทิศตะวันออกตรงข้ามกับ

ดวงจันทร์ข้างขึ้นค่อนดวงซึ่งหันด้านสว่างไปทางตะวันตก

ดวงจันทร์ค่อนดวงข้างแรมตรงกับภาษาอังกฤษว่า

waning

gibbous moon

ดวงจันทร์ข้างแรม 4 ค่ำ

� ขึ้นประมาณ 21.00 น.

ขึ้นก่อนดวงอาทิตย์ เมื่อดวงอาทิตย์ขึ้นเวลา 6.00 น. จะเห็นดวง

จันทร์ค่อนดวงแรม 4 ค่ำ

� อยู่สูงจากขอบฟ้าตะวันตกประมาณ

45 ° ถ้าท้องฟ้าแจ่มใสไม่มีเมฆจะเห็นดวงจันทร์แรม 4 ค่ำ

�ไปถึง

เวลา 9.00 น.

ตำ

�แหน่ง 7

ดวงจันทร์ห่างดวงอาทิตย์ไปทางตะวันตกเป็น

มุม 90 ° เพราะดวงจันทร์ข้างแรมจะปรากฏวิ่งเข้าหาดวงอาทิตย์

ทำ

�ให้ดวงจันทร์มีมุมห่างไปทางตะวันตกดวงอาทิตย์ลดลง ณ

ตำ

�แหน่งนี้ดวงจันทร์หันด้านสว่างครึ่งหนึ่งมาทางโลก เราจึงเห็น

ดวงจันทร์เป็นรูปครึ่งวงกลม หรือครึ่งดวง คล้ายตำ

�แหน่ง 3 แต่

เป็นคนละส่วน ตำ

�แหน่ง 7 เห็น ก. ง. ทั้งหมด และ O ส่วนตำ

�แหน่ง

3 เห็น ข. ค. และ O ดวงจันทร์ตำ

�แหน่ง 7 ตรงกับดวงจันทร์ข้าง

แรม 8 ค่ำ

� หันด้านนูนหรือด้านสว่างไปทางทิศตะวันออก ขึ้นเวลา

กลางคืนเมื่อเวลาประมาณเที่ยงคืน ครั้นถึงเวลาเช้าตรู่ดวงจันทร์

แรม 8 ค่ำ

�จะอยู่สูงสุดบนฟ้า หันด้านสว่าง (ด้านนูน) ไปทางดวง

อาทิตย์หรือทิศตะวันออก ถ้าท้องฟ้าแจ่มใสจะเห็นดวงจันทร์แรม

8 ค่ำ

�ในเวลากลางวันตั้งแต่เช้าไปจนถึงประมาณเที่ยงวัน โดยเห็น

คล้อยต่ำ

�ลงไปทางทิศตะวันตกและลับขอบฟ้าเมื่อเวลาเที่ยงวัน

ดวงจันทร์แรม 8 ค่ำ

�ตรงกับภาษาอังกฤษว่า

last quarter moon