Previous Page  17 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 17 / 62 Next Page
Page Background

17

ปีที่ 41 ฉบับที่ 181 มีนาคม - เมษายน 2556

เรื่องเด่นประจำ

�ฉบับ

นวัตกรรมเทคโนโลยี

เพื่อการเรียนการสอนเคมี

ศิริรัตน์ พริกสี

นักวิชาการ สาขาเคมี สสวท. / e-mail :

sphri@ipst.ac.th

ปัจจุบันความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เข้ามามี

บทบาทสำ

�คัญทางการศึกษาอย่างมาก การปรับตัวให้ทันกับการ

เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีการนำ

�เทคโนโลยีมาช่วยส่งเสริมและการ

พัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพจึงนับว่าเป็นสิ่ง

สำ

�คัญ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการพัฒนาวิธีการและนำ

�รูปแบบการนำ

เสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในกระบวนการเรียนการสอน

ซึ่งเรียกว่า

นวัตกรรมทางการศึกษา (Educational Innovation)

นวัตกรรมคืออะไร

ตามบัญญัติศัพท์ของราชบัณฑิตยสถาน คำ

�ว่า นวัตกรรม

หมายถึง สิ่งที่ทำ

�ขึ้นใหม่หรือแปลกจากเดิมซึ่งอาจจะเป็นความ

คิด วิธีการ หรืออุปกรณ์ เป็นต้น

ดังนั้น ทางด้านการศึกษาได้มีการพัฒนาวิธีการและอุปกรณ์

มาช่วยในกระบวนการเรียนการสอน เช่น การใช้อินเทอร์เน็ต

หรือการใช้สื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ถือว่าเป็น นวัตกรรม

ทางการศึกษา

นวัตกรรมกับสื่อการเรียนรู้

สาขาเคมี สสวท. ได้มีการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษามา

อย่างต่อเนื่อง โดยมีการผลิตสื่อการเรียนรู้ใหม่ ๆ เพื่อนำ

�มาใช้

ในกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และ

เนื่องจากวิชาเคมีมีเนื้อหาบางเรื่องที่เป็นนามธรรม ซึ่งผู้เรียน

อาจทำ

�ความเข้าใจได้ยากหรือไม่สามารถจินตนาการเพื่อให้เกิด

ความเข้าใจได้ ดังนั้น การนำ

�สื่อการเรียนรู้ใหม่ ๆ เข้ามาช่วย จึง

เป็นการเสริมการเรียนรู้ทำ

�ให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาวิชาเคมีได้ดีขึ้น

และทำ

�ให้เกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้การนำ

นวัตกรรมทางการศึกษามาใช้ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตาม

ความต้องการของตนเองอีกด้วย

LO เรื่อง การทดสอบสีของเปลวไฟของธาตุในสารประกอบ (จาก สาขาเคมี สสวท.)

LO เรื่อง ปฏิกิริยารีดอกซ์ (จาก สาขาเคมี สสวท.)

สาขาเคมี สสวท. ได้พัฒนานวัตกรรมในด้านสื่อการเรียนรู้

ในรูปแบบต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น Learning Object e-book และ

วีดิทัศน์การทดลองเคมี

Learning Object

Learning Object หรือ LO เป็นสื่อการเรียนรู้ดิจิทัลที่นำ

เสนอเนื้อหาหรือกิจกรรมสั้น ๆ เฉพาะแนวคิดหลักย่อย ๆ หรือ

เป็นไปตามจุดประสงค์การเรียนรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ

ภายในสื่อ LO จะประกอบไปด้วยภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ

วีดิทัศน์ ที่ช่วยในการทำ

�ความเข้าใจ และมีกิจกรรมเพื่อตรวจ

สอบความเข้าใจสำ

�หรับผู้เรียนเกี่ยวกับแนวคิดในเรื่องที่ศึกษา

ดังนั้น สื่อ LO จึงช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ ทำ

�ความเข้าใจ

และสามารถประเมินได้ด้วยตนเอง

สแกนโค้ดนี้เพื่อชม

ภาพเคลื่อนไหว