Previous Page  27 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 27 / 62 Next Page
Page Background

27

ปีที่ 41 ฉบับที่ 181 มีนาคม - เมษายน 2556

รูปที่ 1 รูปแบบของ e-learning

ที่มา :

http://www.netthailand.com/home/articles.php?art_id=12&start=1

รูปที่ 3 รูปแบบของห้องเรียนเสมือน

ที่มา :

http://virtual-learning-world.blogspot.com/

รูปที่ 2 ความสัมพันธ์ของ e-learning และ m-learning

จากคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่พัฒนาและออกแบบโปรแกรมให้มี

การทำ

�งานอย่างมีลำ

�ดับเป็นขั้นตอน มีเนื้อหาและแบบทดสอบ

ก่อน-หลังเรียน ต่อมาเมื่ออินเทอร์เน็ตเริ่มแพร่หลายมากขึ้น

จึงมีจัดการเรียนการสอนในหลายรูปแบบ เช่น การพัฒนาการ

เรียนการสอนในรูปของเว็บเพจ จนกระทั่งพัฒนาไปสู่

ระบบ

e-learning

ซึ่งถือว่าเป็นระบบการศึกษาอย่างเต็มรูปแบบมากขึ้น

ประกอบด้วยการจัดการหลักสูตร การลงทะเบียนเรียนวิชาต่าง ๆ

เป็นการศึกษาผ่านทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งสะดวกต่อผู้เรียน ไม่ต้อง

เดินทาง หรือเสียเวลาในการทำ

�งาน สามารถเรียนได้ในเวลาที่

ต้องการ โดยเนื้อหา จะประกอบด้วย บทเรียน แบบทดสอบ สื่อ

ต่าง ๆ ซึ่งจะมีทั้งรูปแบบของข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว

วีดิทัศน์ เสียง

เมื่อเทคโนโลยีไร้สายเป็นที่นิยมมากขึ้น โทรศัพท์มือถือราคา

ถูกลง จึงมีการพัฒนาเป็น

ระบบ m-learning

หรือเรียกอีกชื่อ

หนึ่งว่า

mobile learning

เป็นการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน

บนโทรศัพท์มือถือ ส่วนใหญ่พัฒนาขึ้นในรูปแบบของเกมเพื่อการ

เรียนรู้ ทำ

�ให้มีความน่าสนใจ สะดวกในการเรียนรู้ สามารถเรียน

ผ่านทางโทรศัพท์มือถือได้สะดวก ทุกที่ ทุกเวลา

ห้องเรียนเสมือน (virtual classroom)

เป็นอีกนวัตกรรม

หนึ่งที่นำ

�มาใช้ในการเรียนการสอน โดยผู้สอนและผู้เรียนอยู่

คนละที่กัน แต่สามารถติดต่อสื่อสารกันผ่านทางอินเทอร์เน็ต

ผู้สอนสามารถติดต่อกับผู้เรียนทุกคน และผู้เรียนก็สามารถติดต่อ

ถึงกันได้ ซึ่งเหมือนกับสภาพในห้องเรียนจริง ๆ

e-learning

m-learning

นวัตกรรมเทคโนโลยีสามารถนำ

�มาช่วยในด้านการเรียน

การสอน ให้ผู้เรียนได้มีทางเลือกมากขึ้น มีความสะดวกสบาย

สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา ตามความต้องการ ภายใต้

นวัตกรรมต่าง ๆ ที่พัฒนาขึ้น ถ้านำ

�ความบันเทิงมาผสมผสาน

กับการเรียนรู้ ซึ่งเรียกว่า edutainment ก็จะช่วยดึงดูดความ

สนใจของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี

บรรณานุกรม

Admin. (2551, 25 พฤศจิกายน). ความหมายของนวัตกรรมการศึกษาและเทคโนโลยี

ทางการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2556, จาก

http://ceit.sut.ac.th/km/

wordpress/?p=138 

Creative Commons Attribution-ShareAlike License. (2553, 19 สิงหาคม).

Educational Technology Innovation and Impact. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม

2556, จาก

http://en.wikibooks.org/wiki/Educational_Technology_Innova-

tion_and_Impact

Fathima A. (2555, 13 กันยายน). Virtual Learning. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2556,

จาก

http://virtual-learning-world.blogspot.com/ Netthailand.com

. E-learning คืออะไร. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2556, จาก

http://www.netthailand.com/home/articles.php?art_id=12&start=1