Previous Page  31 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 31 / 62 Next Page
Page Background

31

ปีที่ 41 ฉบับที่ 181 มีนาคม - เมษายน 2556

บรรณานุกรม

Hibberd, R., Johnson, A., To, D. & Vora-Patel, S., (2012) Engaging the 21st -

Century Learner: Using Augmented Reality to Increase Student Engage-

ment and Student Achievement in an Inquiry-Based Learning Environ-

ment. Retrieved December 2, 2012, from

http://www.yrdsb.edu.on.ca/

pdfs/w/innovation/quest/journals/2012HibberdArticle.pdf

HP. (2012). Augmented reality – the “wow” factor.

IT business eNewsletter

.

Retrieved December 2, 2012, from

http://h30458.www3.hp.com/ww/en/

smb/1185183.html

Kaufmann, H. Collaborative Augmented Reality in Education. Institute of

Software Technology and Interactive Systems, Vienna University of

Teachnology. Retrieved December 2, 2012, from

http://www.ita.mx/

files/avisos-desplegados/ingles-tecnico/guias-estudio-abril-2012/articu-

lo-informatica-1.pdf

Smarter Learning. (2011). Augmented Reality in Education. Retrieved

December 2, 2012, from

http://smarterlearning.wordpress.com

/2011/11/10/augmented-reality-in-education/

Trends in EdTech Augmented Reality. Classroom Learning with AR. Re-

trieved December 2, 2012, from

http://augreality.pbworks.com/w/

page/9469033/Classroom%20Learning%20with%20AR

ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ ของการใช้สื่อเสริมการเรียนรู้ AR

ในการเรียนการสอน

นอกจากจะสามารถสร้างความน่าสนใจในการเรียนรู้ให้กับผู้

เรียนแล้ว สื่อเสริมการเรียนรู้ AR ยังจะสามารถสร้างแรงบันดาล

ใจและจุดประกายให้กับผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เรียนที่สนใจ

ด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เมื่อพวกเขาได้เห็นแนวคิด และ

ได้สัมผัสกับเทคโนโลยี AR แล้ว พวกเขาอาจเกิดจินตนาการ นำ

ไปคิดต่อยอด สร้างสรรค์ พัฒนา AR สำ

�หรับการใช้งานในด้าน

อื่น ๆ ต่อไปได้ อีกทั้ง ในปัจจุบัน ในสาขาอาชีพต่าง ๆ ได้มี

การนำ

�เทคโนโลยี AR มาช่วยในการทำ

�งานมากขึ้น ยกตัวอย่าง

เช่น ในอุตสาหกรรมรถยนต์ที่ใช้เทคโนโลยี AR มาสร้างภาพ

เครื่องยนต์แบบสามมิติสำ

�หรับให้ผู้ใช้ได้เรียนรู้การปฏิบัติงาน

ประกอบรถยนต์ ในด้านการแพทย์ได้ใช้เทคโนโลยี AR ในการ

สร้างภาพเสมือนสามมิติให้นักศึกษาแพทย์ได้ฝึกใช้เครื่องมือ

แพทย์รักษาหรือผ่าตัดผู้ป่วยแบบไม่ต้องสัมผัสกับผู้ป่วยจริง หรือ

ในทางธุรกิจที่ใช้ AR ในการแสดงภาพสินค้าแบบสามมิติที่อยู่

ภายในกล่องโดยที่ไม่ต้องแกะกล่อง ดังนั้น การที่ผู้เรียนได้เรียนรู้

สัมผัส และทดลองใช้ AR ในชั้นเรียน จะทำ

�ให้พวกเขาคุ้นเคยกับ

เทคโนโลยี และมีความพร้อมที่เพิ่มพูนทักษะเกี่ยวกับเทคโนโลยี

ประเภทนี้ เมื่อต้องเรียนในระดับสูงหรือทำ

�งานต่อไป

แนวโน้มในอนาคตของการใช้สื่อ AR ในการศึกษา

ในอนาคตอันใกล้ การออกแบบและสร้างภาพเสมือนสามมิติ

แบบ AR จะไม่ได้ถูกจำ

�กัดเพียงแค่ผู้ที่มีความรู้ความชำ

�นาญด้าน

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ทุกคนจะสามารถออกแบบ

และสร้าง AR ขึ้นมาเองได้อย่างง่าย ๆ ในเวลาไม่นาน และไม่เสีย

ค่าใช้จ่าย (แต่ภาพเสมือนสามมิติที่ได้อาจจะไม่สวยงามเท่ากับ

ภาพที่ผู้เชี่ยวชาญสร้างขึ้น) นอกจากนี้ จากงานวิจัยด้าน AR

อย่างต่อเนื่อง ทำ

�ให้มีผู้ได้เริ่มนำ

� AR มาจำ

�ลองการไหลของน้ำ

ตามสภาพภูมิประเทศที่เปลี่ยนไป การใช้แว่นตาที่ผนวก AR เข้า

กับการมองผ่านเลนส์ ทำ

�ให้ผู้สวมแว่นมองเห็นโลกจริงที่มีข้อมูล

ต่าง ๆ ในโลกเสมือนซ้อนกัน ช่วยให้ผู้ใส่แว่นสามารถดำ

�เนินชีวิต

ได้อย่างสะดวกสบายยิ่งขึ้น ดั้งนั้น ในอนาคตที่ไม่ไกล การนำ

สื่อ AR ไปใช้ในการเรียนการสอนในอนาคตจะไม่เพียงเป็นการ

นำ

�ไปสร้างความสนใจเท่านั้น แต่จะสามารถเข้าไปมีส่วนในขั้น

ตอนการสำ

�รวจตรวจสอบ (Explore) การนำ

�เสนอ (Explain)

หรือนำ

�ไปใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน (collab-

orative learning)[Trend in Edtech Augmented Reality,

2012],[Kaufmann, 2012] หรือการเรียนรู้แบบอื่น ๆ ที่ครูและ

ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ต้องเฝ้าติดตามดูกันอย่างใกล้ชิดต่อไป

**หมายเหตุ ผู้ที่สนใจสื่อเสริมการเรียนรู้ AR ทั้ง 5 ชุดของ สสวท. สามารถติดต่อ

ได้ที่ สำ

�นักบริการวิชาการและบริหารทรัพย์สิน สสวท. โทร (02) 392-4021 ต่อ

3101 หรือ 3106