Previous Page  29 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 29 / 62 Next Page
Page Background

29

ปีที่ 41 ฉบับที่ 181 มีนาคม - เมษายน 2556

ภาพที่ 3 หน้าปกหนังสือประกอบสื่อเสริมการเรียนรู้ AR ชุดการจมและการลอย

ภาพที่ 4 ภาพแสดงอุปกรณ์ที่ใช้สำ

�หรับการใช้สื่อเสริมการเรียนรู้ AR

ความสอดคล้องกับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้

เนื้อหาเกี่ยวกับการจมและการลอยของวัตถุอยู่ในเนื้อหาของ

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ 4 เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่

ซึ่งในตัวชี้วัดระดับชั้น ป.5 ได้ระบุว่า นักเรียนควรสามารถ

“ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว การลอยตัว และการ

จมของวัตถุ” ได้ และตัวชี้วัดในระดับชั้น ม.3 ได้ระบุว่า นักเรียน

ควรสามารถ “ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลวที่กระทำ

ต่อวัตถุ” ได้ ซึ่งในชั้น ม.3 นักเรียนจะได้ทำ

�กิจกรรม และเรียน

รู้ถึงวิธีการคำ

�นวณหาแรงพยุงของของเหลวออกมาเป็นปริมาณ

อุปกรณ์ที่จำ

�เป็นสำ

�หรับการใช้สื่อ AR เรื่อง การจมและ

การลอย

ในขณะที่เทคโนโลยี AR ได้ถูกพัฒนาไปมาก โดยเฉพาะ

ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสมาร์ตโฟนและแท็บเล็ต แต่สื่อเสริมการ

เรียนรู้ AR ที่สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท. ได้พัฒนา

ขึ้นนี้ ถูกออกแบบให้เหมาะสมสำ

�หรับการใช้งานในโรงเรียนส่วน

ใหญ่ ที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่องฉาย (projector) อยู่แล้ว

ทำ

�ให้ไม่ต้องมีการจัดเตรียมอุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงเพิ่มเติม

อุปกรณ์ที่จำ

�เป็นสำ

�หรับการใช้สื่อเสริมการเรียนรู้ AR ของสาขา

วิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนต้น มี 4 – 5 ชิ้น ได้แก่

• เครื่องคอมพิวเตอร์ (แบบตั้งโต๊ะ หรือ แบบพกพา)

• เว็บแคม

• แผ่นซีดีที่มีโปรแกรม AR

• หนังสือประกอบ AR ชุดการจมและการลอย

• เครื่องฉาย (กรณีที่ต้องการแสดงภาพหน้าชั้นเรียน)

การติดตั้งโปรแกรมสำ

�หรับการใช้สื่อเสริมการเรียนรู้ AR

สามารถทำ

�ได้เหมือนกับการติดตั้งโปรแกรมสำ

�เร็จรูปทั่วไป นั่น

คือ เริ่มจากการนำ

�แผ่นซีดีที่มีโปรแกรม AR มาใส่ในช่องสำ

�หรับ

ใส่แผ่นซีดีของเครื่องคอมพิวเตอร์ จากนั้นโปรแกรมติดตั้ง AR

จะดำ

�เนินการโดยอัตโนมัติ ผู้ติดตั้งเพียงคลิกปุ่ม OK ที่อยู่บน

หน้าต่างที่ปรากฏขึ้นบนหน้าจอ จนกระทั่งโปรแกรมได้ทำ

�การ

ติดตั้งเสร็จเรียบร้อย

เมื่อติดตั้งโปรแกรมเสร็จเรียบร้อย ให้ผู้ใช้ต่อเว็บแคมเข้า

กับเครื่องคอมพิวเตอร์ จากนั้นให้คลิกที่ไอคอนของโปรแกรม

(ในที่นี้ ไอคอนชื่อ Buoyant Force) เพื่อใช้งานโปรแกรม และ

เมื่อโปรแกรมแสดงภาพหน้าจอเป็นภาพที่กล้องจับภาพไว้ ให้ผู้

ใช้นำ

�หนังสือประกอบที่มีรหัส AR มาไว้ใกล้ ๆ เพื่อให้เว็บแคม

บันทึกภาพ จากนั้นโปรแกรม AR จะทำ

�การแปรรหัสเป็นภาพ

หรือแอนิเมชันเสมือนสามมิติ ครูผู้สอนอาจนำ

�ภาพที่แสดงให้

จอคอมพิวเตอร์ฉายขึ้นที่จอขนาดใหญ่หน้าชั้นเรียนด้วยเครื่อง

ฉาย เพื่อให้นักเรียนทั้งห้องได้เห็นภาพ AR ที่ชัดเจนพร้อม ๆ กัน

เนื้อหาในหนังสือประกอบ AR ชุดการจมและการลอย

ในหนังสือประกอบ AR เรื่องการจมและการลอย นอกจาก

จะมี Marker ที่เป็นรหัสสำ

�หรับการสร้างภาพเสมือนแล้ว ยังมี

เนื้อหาที่ให้คำ

�อธิบายภาพเสมือนแต่ละภาพที่ถูกสร้างซ้อนขึ้นกับ

โลกจริง โดย ในเนื้อหาของหนังสือจะเรียงลำ

�ดับตามขั้นตอนของ

กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ นั่นคือ เริ่มจากการสร้างความ

สนใจด้วยการตั้งคำ

�ถาม จากนั้น เป็นการยกตัวอย่างสถานการณ์

ที่เกี่ยวกับแรงพยุงในชีวิตประจำ

�วัน ถัดมาเป็นการให้ผู้เรียนได้

เรียนรู้เกี่ยวกับแรงที่ของเหลวกระทำ

�ต่อวัตถุ การคำ

�นวณหา

แรงพยุง การสรุปเนื้อหา และ สุดท้าย เป็นการกล่าวถึงการนำ

ความรู้ที่ได้เรียนเกี่ยวกับแรงพยุงไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำ

�วัน