Previous Page  23 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 23 / 62 Next Page
Page Background

23

ปีที่ 41 ฉบับที่ 182 พฤษภาคม - มิถุนายน 2556

เรื่องเด่นประจำ

�ฉบับ

นักคณิตศาสตร์ใส ๆ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม

เหมือนฝัน เยาว์วิวัฒน์

นักวิชาการ สาขาคณิตศาสตร์ประถมศึกษา สสวท. / e-mail :

mchai@ipst.ac.th

ทุกวันนี้เราต่างก็พบว่าโลกของเราร้อนมากขึ้นทุกวัน อันเนื่องมาจากสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ทรัพยากรธรรมชาติถูกทำ

�ลาย

ไปมาก มีมลภาวะต่าง ๆ อยู่รอบ ๆ ตัวเรา จนทำ

�ให้เชื่อได้ว่าหากเราไม่เริ่มต้นทำ

�อะไร เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมตั้งแต่วันนี้ ในอนาคต

ข้างหน้าโลกที่สวยงามและร่มเย็นของเรา คงจะเปลี่ยนแปลงไปจนน่าตกใจ บทความนี้ จึงขอนำ

�เสนอแนวคิดการจัดกิจกรรมใน

ห้องเรียน 5 กิจกรรมง่าย ๆ ที่จะช่วยส่งเสริมให้นักเรียนรุ่นใหม่สามารถเรียนรู้ทั้งคณิตศาสตร์และเรียนรู้วิธีการรักษาสิ่งแวดล้อม

ไปพร้อม ๆ กัน

1.

ใช้กระดาษไปเท่าไร

ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเก็บข้อมูล

ปริมาณกระดาษที่นักเรียนใช้ในห้องเรียนใน 1 สัปดาห์ ลงใน

ตาราง เช่น

วัน/เดือน/ปี

รอยขีด

ปริมาณกระดาษที่ใช้

ประเภทของถุง

รอยขีด

จำ

�นวน

ถุงกระดาษ

ถุงพลาสติก

ถุงผ้า

ถุงอื่นๆ (ระบุ)

โดยให้นักเรียนเก็บข้อมูลจริงในแต่ละวัน จำ

�นวน 5-7 วัน เมื่อ

ครบ 1 สัปดาห์ ให้นักเรียนแลกเปลี่ยน รวบรวมข้อมูลกับเพื่อน ๆ

ช่วยกันเขียนแผนภูมิ เพื่อแสดงข้อมูลปริมาณกระดาษที่ใช้ของ

ทั้งห้องเรียนในแต่ละวัน แล้วใช้ข้อมูลจากแผนภูมิ อภิปรายเกี่ยว

กับปริมาณกระดาษที่นักเรียนใช้ไป จากนั้นร่วมกันคิดแผนการที่

จะช่วยกันประหยัดกระดาษในห้องเรียนได้อย่างไร ซึ่งนั่นหมาย

ถึงการช่วยลดปริมาณต้นไม้ที่ต้องถูกตัดไปเพื่อใช้ในการผลิต

กระดาษนั่นเอง

2.

ถุงแบบไหนดีที่สุด

ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนอภิปรายถึง

การใช้ถุงในการซื้อของในสถานที่ต่าง ๆ โดยร่วมกันอภิปรายถึง

ข้อดีและข้อเสียของการใช้ถุงประเภทต่าง ๆ ได้แก่ ถุงกระดาษ

ถุงพลาสติก ถุงผ้าหรือถุงอื่น ๆ ที่นำ

�กลับมาใช้ใหม่ได้ ให้นักเรียน

ออกมาให้ข้อมูลว่าถุงประเภทใดที่นักเรียนคิดว่าใช้ดีที่สุด โดยทำ

รอยขีดในตาราง

เมื่อนักเรียนให้ข้อมูลครบทุกคนแล้ว ให้นักเรียนเลือกชนิด

ของแผนภูมิ แล้วเขียนแสดงข้อมูลด้วยแผนภูมิที่เหมาะสม จาก

นั้นให้นักเรียนอภิปรายจากผลสำ

�รวจที่ได้มา ว่านักเรียนส่วนใหญ่

คิดว่าถุงประเภทใดเหมาะสมที่จะใช้มากที่สุด เพราะเหตุใด ให้

นักเรียนพูดคุยเพื่อวางแผน เพื่อที่จะประหยัดพลังงานด้วยการ

เลือกใช้ถุงที่ทำ

�มาจากวัสดุที่เหมาะสม และสรุปร่วมกัน

3.

ขยะมีค่า

ครูจัดกิจกรรมโดยให้นักเรียนแลกเปลี่ยนการ

จัดการขยะภายในบ้านว่ามีการจัดการอย่างไรบ้าง มีการแยกขยะ

หรือไม่ นักเรียนรู้จักการแยกขยะหรือไม่ และพูดคุยถึงสิ่งของ

หรือขยะที่สามารถนำ

�มารีไซเคิลได้ว่ามีอะไรบ้าง

ครูให้นักเรียนทดลองชั่งน้ำ

�หนักขยะในบ้านของนักเรียน 1

วัน แล้วนำ

�ข้อมูลมาแลกเปลี่ยนในห้องเรียน และคำ

�นวณว่าใน

1 เดือน บ้านของนักเรียนสร้างขยะปริมาณเท่าไร ถ้าหากนำ

ขยะของนักเรียนทุกบ้านมารวมกัน จะคิดเป็นน้ำ

�หนักเท่าไร และ

อภิปรายว่าเราจะช่วยลดปริมาณขยะเหล่านี้ได้อย่างไร

ครูให้นักเรียนอภิปรายวิธีการแยกขยะภายในบ้าน ภายใน

โรง เรียน ให้นักเรียนฝึก

แยกขยะ นำ

�ขยะที่สามารถ

รีไซเคิลได้มาขาย โดยให้

นักเรียนได้ฝึกทักษะการวัด

น้ำ

�หนักขยะ โดยใช้เครื่อง

ชั่งสปริง ให้นักเรียนค้นหา

ข้อมูลราคาขยะแต่ละชนิด

ต่อกิโลกรัม และคำ

�นวณหาจำ

�นวนเงินที่จะได้จากการขายขยะ

ชนิดต่าง ๆ ที่นักเรียนรวบรวมมาได้ และทำ

�การซื้อขายจริงกับ

ร้านรับซื้อขยะ

4.

ร่วมกันประหยัดน้ำ

ครูจัดกิจกรรมโดยให้นักเรียนทำ

แบบสอบถาม เพื่อประเมินลักษณะของการใช้น้ำ

�ของนักเรียน