

27
ปีที่ 41 ฉบับที่ 182 พฤษภาคม - มิถุนายน 2556
นักคณิตศาสตร์ในอดีตเรียกจำ
�นวนนับที่สามารถแสดง
ด้วยการวางสิ่งของที่มีขนาดเท่า ๆ กัน เรียงต่อกันเป็นรูปหก
เหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า ว่า
จำ
�นวนหกเหลี่ยม
(hexagonal
number) จำ
�นวน 1 ก็จัดว่าเป็นจำ
�นวนหกเหลี่ยมด้วย จำ
�นวน
หกเหลี่ยมอื่น ๆ ที่สังเกตได้จากแบบรูปของจำ
�นวน เช่น
2+
3
+2 = 7, 3+4+
5
+4+3 = 19, 4+5+6+
7
+6+5+4 = 37,
5+6+7+8+
9
+8+7+6+5 = 61 มีข้อสังเกตว่าจำ
�นวนที่อยู่ใน
ตำ
�แหน่งตรงกลางเป็นจำ
�นวนคี่
การสังเกตแบบรูปของจำ
�นวนหกเหลี่ยมวิธีอื่น ๆ เช่น
1 1+6 1+6(1+2) 1+6(1+2+3)
แบบรูปนำ
�ไปสู่รูปทั่วไปของจำ
�นวนหกเหลี่ยม คือ
1+6[1+2+3+ …+(n-1)]
เนื่องจาก 1+2+3+…+(n-1) =
=
ดังนั้น
รูปทั่วไปของจำ
�นวนหกเหลี่ยม
คือ
1 + 3n(n–1) =
3n
2
–3n+1
เมื่อ n เป็นจำ
�นวนหกเหลี่ยม
จำ
�นวนที่ n
เช่น จำ
�นวนหกเหลี่ยมจำ
�นวนที่ 5 คือ
3(5
2
) – 3(5) + 1 = 61
พิจารณาผลบวกของจำ
�นวนหกเหลี่ยมตั้งแต่จำ
�นวนแรก
ถึงจำ
�นวนที่ n ได้แก่ 1, 7, 19, …, 3n
2
–3n+1
1 = 1
3
, 1+7 = 8 = 2
3
, 1+7+19 = 27 = 3
3
,
1+7+19+37 = 64 = 4
3
, 1+7+19+37+61 = 125 =5
3
ผลบวกของจำ
�นวนหกเหลี่ยม n จำ
�นวนแรก เท่ากับ
n
3
เป็น
จำ
�นวนกำ
�ลังสาม
(cube number) กล่าวคือ ถ้าเรานำ
�
ลูกบอลมาวางเรียงกันเป็นรูปหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าตั้งแต่ 1 ถึง
จำ
�นวนหกเหลี่ยมจำ
�นวนหนึ่ง จะสามารถนำ
�ลูกบอลทั้งหมดนั้นมา
วางซ้อนกันเป็นรูปลูกบาศก์ได้ และในทางกลับกันก็เป็นจริง
ตัวอย่าง
1+7+19 = 3
3
ปัญหา
ในการจัดประชุมครูคณิตศาสตร์ครั้งหนึ่งที่จังหวัด
สุราษฎร์ธานี พนักงานจัดเตรียมเครื่องดื่มพร้อมอาหารว่าง จัด
เตรียมไว้บนโต๊ะ โต๊ะละจำ
�นวนเท่า ๆ กัน ดังภาพ
1) ให้หาว่าบนโต๊ะตัวหนึ่งมีอาหารว่างกี่ชุด
2) ให้หาจำ
�นวนอาหารว่าง เมื่อพนักงานตั้งโต๊ะไว้ 3 ตัว 6 ตัว
และ 9 ตัว ตามลำ
�ดับ
คำ
�ตอบ
1) จานใส่อาหารว่างวางเรียงต่อกันเป็นรูปหกเหลี่ยมด้าน
เท่ามุมเท่า มีจำ
�นวน 4+5+6+7+6+5+4 = 37 จาน ซึ่งอาจหา
โดยใช้รูปทั่วไปของจำ
�นวนหกเหลี่ยม 3n
2
–3n+1 เมื่อ n = 4
2) จำ
�นวนอาหารว่างบนโต๊ะ 3 ตัว เท่ากับ 37x3 = 111 จาน
จำ
�นวนอาหารว่างบนโต๊ะ 6 ตัว เท่ากับ 37x(3x2) = (37x3)x2
= 111x2 = 222 จาน
จำ
�นวนอาหารว่างบนโต๊ะ 9 ตัว เท่ากับ 37x(3x3) = (37x3)x3
= 111x3 = 333 จาน
เป็นการหาคำ
�ตอบโดยใช้สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการคูณ
การเชื่อมโยงเนื้อหาสาระของคณิตศาสตร์กับสิ่งรอบ
ตัว ทำ
�ให้เนื้อหานั้นมีความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น และในขณะ
เดียวกันก็เป็นการช่วยเพิ่มคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ นั้น ในฐานะที่
เป็นสื่อการเรียนรู้ เรามักมีโอกาสสัมผัสกับสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบ
ตัว มากกว่าการสัมผัสกับเนื้อหาคณิตศาสตร์โดยตรง การได้
ทราบว่าสิ่งต่าง ๆ นั้นมีความเชื่อมโยงกับคณิตศาสตร์อย่างไร
เมื่อได้พบเห็นก็ย่อมทำ
�ให้เกิดระลึกถึงคณิตศาสตร์ และอาจ
เป็นแรงบันดาลใจให้เกิดการศึกษาต่อไปอย่างลุ่มลึกและกว้าง
ขวางยิ่งขึ้นทำ
�ให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ที่มีประโยชน์มีคุณค่า
(1+n-1)(n-1)
2
n(n-1)
2