Previous Page  30 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 30 / 62 Next Page
Page Background

30

นิตยสาร สสวท.

ภาพที่ 2 แสดงปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกของแต่ละประเทศ ระหว่างปี 1990-2010 โดยรวมการ

เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินและพื้นที่ป่าไม้ (LULUCF) 

(ที่มา:

http://www.ipcc.ch/

)

29

439

450

332

338

(ที่มา:

http://www.esrl.noaa.gov/gmd/ccgg/trends/

)

ภาพที่ 3 วัฏจักรคาร์บอนของโลก (กิกะตัน)

(ที่มา: IPCC AR4)

ความเข้มข้นของ

คาร์บอนไดออกไซด์ของโลก

(1 ส่วนในล้านส่วน)

/ระยะเวลา

คาร์บอนไดออกไซด์

(carbon dioxide)

มีเทน

(methane)

ไนตรัสออกไซด์

(nitrous oxides)

ความเข้มข้นก่อนปฏิวัติ

อุตสาหกรรม

280

0.7

0.3

ความเข้มข้น

397

1.8

0.3

และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างปริมาณคาร์บอนที่ปลด

ปล่อยจากกิจกรรมมนุษย์ โดยการเผาไหม้เชื้อเพลิง และการ

เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน คิดเป็นเพียงร้อยละ 3 (29

กิกะตัน) ของคาร์บอนที่ปลดปล่อยสู่บรรยากาศจากพื้นดิน

และสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ และมหาสมุทรอีกทั้งพื้นดิน และ

มหาสมุทร มีประสิทธิภาพในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

ที่เกิดขึ้น ก่อให้เกิดการปรับความสมดุลของโลกทั้งระบบ ซึ่งทาง

แบบจำ

�ลองคณิตศาสตร์ไม่สามารถทำ

�นายได้ ตามภาพที่ 3

บทความนี้ ให้ข้อมูลในอีกมุมมองหนึ่ง

ของภาวะโลกร้อน ที่นักวิทยาศาสตร์บาง

ท่านไม่เห็นด้วยกับการเกิดภาวะโลกร้อนจาก

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่เกิดจากกิจกรรม

ของมนุษย์ เช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิง และ

กิจกรรมอื่น ๆ ที่มนุษย์ทำ

�ขึ้น ประเด็นต่าง ๆ

ที่จะกล่าวถึงนี้ ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์มีความ

คิดเห็นไม่ตรงกัน และยังเป็นข้อถกเถียงกันอยู่

นักเรียนลองอ่านประเด็นต่าง ๆ ที่นำ

�เสนอใน

บทความนี้ และเขียนสรุปความคิดเห็นของตนเอง

ลงในใบกิจกรรมที่กำ

�หนดให้

ประเด็นที่1ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

มีอยู่ในบรรยากาศเท่าไร และมีปริมาณเพิ่มขึ้น

มากเท่าไร ถึงก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อภูมิ

อากาศอย่างมีนัยสำ

�คัญ

ตารางที่ 1

แสดงปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่มีการตรวจวัดในบรรยากาศ โดยเฉลี่ยแล้วคิดเป็น 0.039 % ของปริมาณก๊าซใน

บรรยากาศ

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศมีปริมาณเป็นส่วนน้อย เมื่อเทียบกับก๊าซออกซิเจนและก๊าซไนโตรเจน

การเผาไหม้เชื้อเพลิง

ฟอสซิลและการใช้

ประโยชน์ที่ดิน

พืช ดินและสิ่งมีชีวิต

ในดิน

มหาสมุทร