

24
นิตยสาร สสวท.
บรรณานุกรม
Aluminum Cans. Retrieved January 28, 2013, from http://illuminations.
nctm.org/LessonDetail.aspx?ID=L208Northwest Territories Literacy Council. Retrieved January 25, 2013, from
http://www.nwt.literacy.ca/ลักษณะนิสัย
สม่ำ
�เสมอ
บางครั้ง
ไม่เคย
1. อาบน้ำ
�ฝักบัวน้อยกว่า 5 นาที
2. อาบน้ำ
�ด้วยฝักบัวไม่เกิน 3 ครั้งต่อสัปดาห์
3. ใช้น้ำ
�ในการอาบน้ำ
�ครั้งละไม่เกิน 2 ลิตร
4. ปิดก็อกน้ำ
�ขณะแปรงฟัน
5. รองน้ำ
�ใส่ขันหรืออ่างล้างหน้าก่อนเพื่อใช้ล้างหน้า
6. กดชักโครกเฉพาะเมื่อจำ
�เป็นเท่านั้น
7. ใช้ไม้กวาดเพื่อทำ
�ความสะอาดทางเท้าและบริเวณหน้า
บ้านโดยไม่ได้ใช้น้ำ
�
8. ใช้ถังน้ำ
�รองน้ำ
�แล้วจึงเทน้ำ
�เพื่อล้างรถ
9. ปิดก็อกน้ำ
�แน่น
10. ซักผ้าเมื่อปริมาณผ้ามีจำ
�นวนมากเท่านั้น
11. รองน้ำ
�ใส่กะละมังเพื่อล้างจานจำ
�นวนมาก ๆ พร้อมกัน
12. รอให้ฝนตกใส่ต้นไม้แทนการใช้น้ำ
�ประปารดน้ำ
�ต้นไม้
ตัวอย่างแบบสอบถาม
ให้นักเรียนทำ
�เครื่องหมาย / ในช่องที่ตรงกับลักษณะการใช้
น้ำ
�ของนักเรียน
เมื่อนักเรียนทำ
�แบบสอบถามแล้ว ให้นักเรียนคำ
�นวณหา
คะแนนรวมของตนเอง โดยถ้านักเรียนเลือก
สม่ำ
�เสมอ
1 ข้อ คิด
เป็น 5 คะแนน ถ้าเลือก
บางครั้ง
1 ข้อ คิดเป็น 2 คะแนน ถ้า
เลือก
ไม่เคย
1 ข้อ คิดเป็น 0 คะแนน จากนั้นให้เทียบว่าคะแนน
รวมของนักเรียนอยู่ในระดับใด มีความหมายว่าอย่างไร ดังนี้
ครูและนักเรียนอภิปรายถึงวิธีการที่จะประหยัดน้ำ
�ร่วมกัน
นอกจากนี้ครูอาจ
จัดกิจกรรมเพิ่ม
โดยให้ข้อมูลเพิ่ม
เติมว่ากิจกรรม
เกี่ยวกับน้ำ
�แต่ละ
อย่างใช้ปริมาณ
น้ำ
�เท่าไรบ้าง เช่น
อาบน้ำ
�ด้วยฝักบัว
ใช้น้ำ
� 20 ลิตรต่อ
นาที กดชักโครก ใช้น้ำ
� 16 ลิตรต่อครั้ง แปรงฟัน ใช้น้ำ
� 4 ลิตรต่อ
ครั้ง แต่ถ้าปิดน้ำ
�ขณะแปรงฟัน ใช้น้ำ
�เพียง
1
ลิตรต่อครั้ง เป็นต้น
ให้นักเรียนคำ
�นวณว่าใน 1 วัน นักเรียนใช้น้ำ
�ประมาณกี่ลิตร
และใน 1 เดือน นักเรียนใช้น้ำ
�ประมาณกี่ลิตร จากนั้นอภิปราย
ร่วมกันว่านักเรียนจะสามารถลดการใช้น้ำ
�จากกิจกรรมใดได้บ้าง
อย่างไร เช่น ถ้าลดระยะเวลาการเปิดน้ำ
�ล้างมือลง 2 นาที จะลด
การใช้น้ำ
�ได้เท่าไร
ครูอาจแนะนำ
�วิธีการคิดคำ
�นวณค่าน้ำ
�ประปา แล้วเชื่อมโยง
ให้เห็นว่า ถ้านักเรียนประหยัดน้ำ
�เพียงง่าย ๆ วันละเล็กน้อย ใน
1 เดือนจะช่วยประหยัดน้ำ
�ได้เท่าไร
5.
ร่วมกันประหยัดไฟ
ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้วิธี
การคำ
�นวณค่าไฟ
โดยให้นักเรียนสำ
�รวจอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ
ภายในบ้านของนักเรียน เช่น หลอดไฟ ตู้เย็น เตารีด เครื่องปรับ
อากาศ ว่าใช้ไฟกี่วัตต์ แล้วคำ
�นวณค่าไฟของการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า
ต่าง ๆ ใน 1 ชั่วโมง ให้นักเรียนเรียนรู้ว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท
ใดใช้ไฟเท่าไรบ้าง
จากนั้นให้นักเรียนคำ
�นวณ เพื่อเปรียบเทียบการใช้กระแส
ไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบประหยัดไฟกับแบบธรรมดา เช่น
หลอดไฟธรรมดากับหลอดผอมประหยัดไฟเบอร์ 5 หรือตู้เย็น
รุ่นเก่ากับตู้เย็นที่ประหยัดไฟเบอร์ 5 เพื่อเปรียบเทียบว่าการใช้
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ประหยัดไฟจะมีการประหยัดพลังงานไปเท่าไร
หากเปลี่ยนเครื่องใช้ไฟฟ้าจะลดค่าใช้จ่ายไปเท่าไร ให้สังเกต
ความแตกต่าง จากนั้นอภิปรายร่วมกันถึงความสำ
�คัญของการ
ประหยัดพลังงานไฟฟ้า และวิธีการประหยัดไฟฟ้าที่นักเรียน
สามารถเริ่มต้นทำ
�ได้ หรือชักชวนให้ผู้ปกครองร่วมกันทำ
�ได้
กิจกรรมเหล่านี้เป็นเพียงตัวอย่าง ครูผู้สอนสามารถนำ
�
แนวทางการจัดกิจกรรมดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม
กับบริบท เนื้อหาของชั้นเรียนของตน โดยเชื่อมโยงให้นักเรียน
ได้เห็นความสำ
�คัญของการรักษาสิ่งแวดล้อม การช่วยกัน
ประหยัดพลังงาน ซึ่งเป็นสิ่งใกล้ตัวที่นักเรียนทำ
�ได้ง่าย ๆ ด้วย
ตนเอง นักเรียนจะสามารถซึมซับ เรียนรู้ผ่านกิจกรรมเหล่านี้
พร้อมกับได้พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ในด้านต่าง ๆ
อีกด้วย
2
คะแนน แสดงว่านักเรียนประหยัดน้ำ
�ได้ยอดเยี่ยมมาก
คะแนน แสดงว่านักเรียนประหยัดน้ำ
�ได้ค่อนข้างดี
คะแนน แสดงว่านักเรียนใช้น้ำ
�ค่อนข้างสิ้นเปลือง ได้
เวลาเริ่มประหยัดน้ำ
�แล้วจ้ะ
•
•
•
41
21
0
-
-
-
60
40
20