

19
ปีที่ 41 ฉบับที่ 182 พฤษภาคม - มิถุนายน 2556
ภาพที่ 7 ตัวอย่างโปสเตอร์ในการนำ
�เสนอผลงานของนักเรียน (ซ้าย)
และตัวอย่างบ้านนกเพนกวินที่ถูกสร้างขึ้น (ขวา) (ที่มา:
[
3
]
)
ภาพที่ 8 ตัวอย่างการวางบ้านนกเพนกวินในกล่อง (ซ้าย) และ
ตัวอย่างการจัดแสงไฟให้ส่องเข้าไปในกล่องที่มีบ้านนกเพนกวินอยู่ (ขวา) (ที่มา:
[
3
]
)
เมื่อแต่ละกลุ่มได้นำ
�เสนอผลงานของกลุ่มเรียบร้อยแล้ว ให้
นำ
�บ้านที่สร้างเสร็จและนำ
�ก้อนน้ำ
�แข็งที่จะใช้แทนนกเพนกวิน
มาชั่งด้วยตาชั่ง เพื่อหามวลเริ่มต้นบันทึกผล จากนั้นให้นำ
�น้ำ
�แข็ง
ใส่เข้าไปในบ้าน ก่อนจะนำ
�ไปวางไว้ในกล่องที่ผู้สอนจัดเตรียมไว้
ให้ โดยการนำ
�ไปวางต้องเป็นการปฏิบัติที่พร้อมเพรียงกันทุกกลุ่ม
หลังจากเวลาผ่านไปประมาณ 20 - 30 นาที ให้แต่ละกลุ่ม
นำ
�น้ำ
�แข็งที่อยู่ในบ้านมาชั่งเพื่อหาค่ามวลที่เหลืออยู่ ผู้สอนให้
ผู้เรียนได้ลองใช้หลักการทางพีชคณิตคำ
�นวณหาค่ามวลของน้ำ
�
แข็งที่ละลายไปของแต่ละกลุ่ม จากนั้นนำ
�ไปเปรียบเทียบกับ
มวลเริ่มต้น เพื่อหาว่ากลุ่มใดที่สามารถสร้างบ้านนกเพนกวินที่
รักษาความเย็นได้ดีที่สุดและประกาศให้กลุ่มนั้นเป็นผู้ชนะเลิศ
(การเปรียบเทียบมวลน้ำ
�แข็งที่ละลายไปกับมวลน้ำ
�แข็งเริ่มต้น
อาจให้ผู้เรียนคำ
�นวณเป็นร้อยละ เพื่อเป็นการฝึกทักษะทาง
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม)
เมื่อผลการทำ
�กิจกรรมออกมาแล้ว สิ่งที่สำ
�คัญที่สุดคือ การ
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้อภิปรายถึงสาเหตุที่บ้านนกเพนกวิน
ของกลุ่มที่ชนะเลิศสามารถป้องกันการถ่ายโอนความร้อนจาก
ภายนอกไปสู่ภายในตัวบ้านนกเพนกวินได้ดีที่สุด อีกทั้งให้
อภิปรายถึงสาเหตุของบ้านบางกลุ่มที่ป้องกันการถ่ายโอนความ
ร้อนได้น้อยด้วย ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
ลักษณะและวิธีการที่สามารถป้องกันการถ่ายโอนความร้อนและ
สมบัติการเป็นฉนวนความร้อนของวัสดุต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี อัน
เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีของวัสดุ
กิจกรรม “การปรับปรุงบ้านนกเพนกวิน”
หลังจากการทราบผลแล้วว่า บ้านนกเพนกวินของกลุ่มใด
ชนะเลิศ กิจกรรมต่อไปคือ ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มได้สร้างบ้าน
นกเพนกวินอีกหลังหนึ่ง โดยให้ใช้วัสดุและการออกแบบ แบบ
เดียวกับบ้านนกเพนกวินของกลุ่มที่ชนะเลิศได้สร้างไว้และเมื่อ
สร้างเสร็จแล้ว ให้ดำ
�เนินการเหมือนกับขั้นตอนในการทดสอบ
ประสิทธิภาพของบ้านก่อนหน้านี้ นั่นคือนำ
�บ้านนกเพนกวิน
และก้อนน้ำ
�แข็งไปชั่งหามวล จากนั้นนำ
�ก้อนน้ำ
�แข็งใส่เข้าไปใน
บ้าน ก่อนจะนำ
�ไปวางไว้ในกล่องและรอให้เวลาผ่านไปประมาณ
20 – 30 นาที ก่อนจะนำ
�ก้อนน้ำ
�แข็งออกมาชั่งหามวลของที่
เหลืออยู่
ในการวิเคราะห์ผลการทดสอบบ้านนกเพนกวินหลังที่สอง ผู้
เรียนต้องอาศัยความรู้และกระบวนการทางคณิตศาสตร์เรื่องสถิติ
เพื่อคำ
�นวณหา “ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน” (standard deviation)
ของผลการทดสอบของทุกกลุ่มที่ได้ว่า มีประสิทธิภาพแตกต่าง
กันมากน้อยเพียงไร เพื่อนำ
�ไปสู่ข้อสรุปที่ว่า แบบอย่างของบ้าน
นกเพนกวินที่เป็นผู้ชนะเลิศ มีความน่าเชื่อถือ (reliability) และ
เหมาะที่จะนำ
�ไปใช้ดำ
�เนินการสร้างหรือปรับปรุงพัฒนาต่อไป
หรือไม่
ทั้งนี้ กิจกรรมการปรับปรุงบ้านนกเพนกวินเป็นการช่วยให้ผู้
เรียนเรียนรู้ขั้นตอนที่สำ
�คัญในกระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์
นั่นคือ การทดสอบว่างานออกแบบที่ได้ผลลัพธ์ที่ดีนั้น สามารถ
ถูกนำ
�ไปปฏิบัติซ้ำ
�โดยผู้อื่นได้หรือไม่ (repeatability) เพื่อจะนำ
�
ไปสู่การสรุปว่า งานดังกล่าวเป็นงานออกแบบที่น่าเชื่อถือ หรือ
ในคำ
�ศัพท์ทางวิศวกรรมศาสตร์จะใช้คำ
�เรียกกระบวนการนี้ว่า
“scale up”
[
3
]
การประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนหลังการทำ
�กิจกรรม
“ช่วยเหลือนกเพนกวิน”
หลังจากการทำ
�กิจกรรม “ช่วยเหลือนกเพนกวิน” แล้ว ผู้
สอนสามารถประเมินความเข้าใจเกี่ยวกับ “การถ่ายโอนความ
ร้อน” ของผู้เรียนได้โดยการให้ผู้เรียนทำ
�แบบทดสอบแบบปรนัย
จากนั้นให้ผู้สอนเฉลยคำ
�ตอบหน้าชั้นเรียนร่วมกับผู้เรียนทั้งหมด
โดยระหว่างการเฉลย ผู้สอนช่วยตอบคำ
�ถามและอธิบายแนวคิด
ที่ผู้เรียนไม่เข้าใจ