

20
นิตยสาร สสวท.
บรรณานุกรม
[1] President’s Council of Advisors on Science and Technology. (2010). Report to
the President. Prepare and Inspire: K-12 Education I Science, Technology,
Engineering and Math (STEM) for America’s Future.
[2] Pellegrino, James, W., & Hilton, Margaret, L. (2012). Education for Life and Work:
Developing Transferable Knowledge and Skills in the 21st Century. Washington,
D.C.: National Academy Press.
[3] Nathan, Mitchell, J. Save the Penguins: Integrated STEM Education Unit. [Power-
Point slides] STEM Education Workshop. IPST, Bangkok January 10, 2013.
[4] Schnittka, Christine. Save the Penguins Engineering Teaching Kit: An Introduction
to Thermodynamics and Heat Transfer. Teacher’s Guide. Retrieved January 17,
2013 , from
http://www.auburn.edu/~cgs0013/ETK/SaveThePenguinsETK.pdf
[5] Edutopia Staff. Why is Project-Based Learning Important? Retrieved January 28,
2013, from
http://www.edutopia.org/project-based-learning-guide-importance
[6] Institute for Transforming Undergraduate Education. Problem-Based Learning at
University of Delaware. Why PBL? Retrieved January 28, 2013, from http://www.
udel.edu/inst/why-pbl.html[7] Intel ® Teach Program. (2007).
Designing Effective Projects: Characteristics of
Projects. Benefits of Project-Based Learning. Retrieved January 28, 2013, from
http://download.intel.com/education/Common/ro/Resources/DEP/projectde-sign/DEP_pbl_research.pdf
ในที่นี้ขอยกตัวอย่างคำ
�ถาม 2 ข้อ สำ
�หรับการประเมิน
ท้ายกิจกรรม
1.ในการต้มไข่ทั้งฟอง เรานำ
�ไข่ผ่านการต้มแล้วไปทำ
�ให้
เย็นลงด้วยการนำ
�ไปวางไว้ในภาชนะที่ใส่น้ำ
�ที่มีอุณหภูมิเท่ากับ
อุณหภูมิห้อง คำ
�อธิบายในข้อใดกล่าวถึงกระบวนการที่ทำ
�ให้ไข่
เย็นลงได้ถูกต้อง
ก. อุณหภูมิถูกถ่ายโอนจากไข่ไปสู่น้ำ
�
ข. ความเย็นเคลื่อนที่จากน้ำ
�ไปสู่ไข่
ค. พลังงานถูกถ่ายโอนจากน้ำ
�ไปสู่ไข่
ง. พลังงานถูกถ่ายโอนจากไข่ไปสู่น้ำ
�
(คำ
�ตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ง. เพราะพลังงานความร้อนจากไข่
ที่มีอุณหภูมิสูงกว่าถูกถ่ายโอนไปให้น้ำ
�ที่มีอุณหภูมิต่ำ
�กว่า)
2.เด็กหญิงเอมี่ใช้ผ้าห่มห่อหุ้มตุ๊กตาของเธอไว้ แต่เอมี่ไม่
เข้าใจว่า ทำ
�ไมตุ๊กตาจึงไม่อุ่นขึ้น นักเรียนคิดว่าเป็นเพราะสาเหตุ
ใด
ก. ผ้าห่มที่เอมี่ใช้เป็นฉนวนความร้อนที่ไม่ดี
ข. ผ้าห่มที่เอมี่ใช้เป็นตัวนำ
�ความร้อนที่ไม่ดี
ค. ตุ๊กตาของเอมี่ทำ
�มาจากวัสดุที่ไม่สามารถดูดซับความ
ร้อนได้ดี
ง. ไม่มีคำ
�ตอบที่ถูกต้อง
(คำ
�ตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ ง. เพราะสาเหตุที่จริงแล้วคือ ตุ๊กตา
ของเอมี่ไม่มีการสร้างความร้อนขึ้นมาภายในตัวตุ๊กตา ต่างจาก
ร่างกายของคนที่มีการสร้างความร้อนและระบายออกมาตาม
ผิวหนัง คนที่ห่มผ้าไว้สักระยะเวลาหนึ่งจึงรู้สึกอุ่น)
จะเห็นได้ว่าการเรียนรู้ STEM แบบบูรณาการนี้ มีความคล้าย
กับการเรียนรู้แบบ Project-Based หรือ Problem-Based ที่มี
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มีการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีการทำ
�งานร่วม
กัน ได้ใช้ความรู้เป็นพื้นฐานในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ได้
มีการอภิปราย วิพากษ์วิจารณ์และนำ
�เสนอ ในขณะที่ผู้สอนเป็น
ผู้สนับสนุนการเรียนรู้ ให้คำ
�แนะนำ
�และตรวจสอบความเข้าใจ
ของผู้เรียน ซึ่งเป็นแนวทางการเรียนรู้ที่ได้มีการศึกษามาแล้วว่า
สามารถส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาทักษะ
ในการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทักษะสำ
�คัญของการดำ
�รงชีวิตใน
ศตวรรษที่ 21
[
5
], [
6
], [
7
]
นอกจากนี้การเรียนรู้ STEM แบบ
บูรณาการยังส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทำ
�ความเข้าใจเนื้อหาแกนหลักได้
อย่างลึกซึ้ง มีทักษะการเรียนรู้ข้ามศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
พร้อมทั้งตระหนักและเข้าใจหลักการและกระบวนการทางวิชา
วิศวกรรมศาสตร์มากยิ่งขึ้นด้วย
[
7
]
แต่อย่างไรก็ตาม ถึงแม้การเรียนรู้ STEM แบบบูรณาการ
จะมีข้อดีหลายด้าน ผู้เชี่ยวชาญที่เคยมีประสบการณ์จากการนำ
�
แนวทางการเรียนรู้นี้ไปใช้ในโรงเรียนของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้
พบสิ่งที่ท้าทายหลายด้านเช่นกัน
[
3
]
ยกตัวอย่างเช่น อาจเป็นเรื่อง
ยากสำ
�หรับครูที่จะสามารถสอนข้ามศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หากเนื้อหาของวิชาอื่น ๆ ครูผู้สอนไม่มีความเชี่ยวชาญ หรือไม่
ว่าจะเป็นการที่ต้องปรับเปลี่ยนวิชาเรียนและคาบเรียนในตาราง
เรียนของภาคการศึกษาที่โรงเรียนได้กำ
�หนดไว้ตายตัวแล้ว ทำ
�ให้
ผู้บริหารโรงเรียนไม่ให้ความร่วมมือ เป็นต้น
ในบริบทการศึกษาของประเทศไทย การจะนำ
�แนวทางการ
เรียนรู้ดังกล่าวมาใช้ในโรงเรียน อาจจะต้องพบกับสิ่งท้าทายใน
ลักษณะคล้าย ๆ กันกับในกรณีของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งอาจ
จะต้องอาศัยเวลาในการปรับเปลี่ยน แก้ไข พัฒนา ให้เหมาะสมกับ
บริบทของประเทศ และถ้าหากได้พบว่าแนวทางการเรียนรู้นี้ช่วยให้
นักเรียนไทยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาทั้งสี่ของ STEM ที่ดี
ขึ้นมีความสนใจในการประกอบอาชีพด้านSTEMมากขึ้นสามารถ
นำ
�ความรู้ทาง STEM ไปสร้างสรรค์วิธีการในการแก้ปัญหาในโลก
จริงที่สลับซับซ้อนได้เป็นอย่างดีฯลฯ โรงเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
กับการจัดการศึกษาคงจะปฏิเสธไม่ได้ที่จะต้องรีบดำ
�เนินการขับ
เคลื่อนและสนับสนุนให้การเรียนรู้ด้วยแนวทางนี้ขยายผลมากยิ่ง
ขึ้น แล้วการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนไทยจะไม่เป็นเรื่องน่าเบื่อ
หรือเป็นการเรียนไปเพื่อสอบเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป แต่จะเป็น
เรื่องน่าสนใจ สนุก ใกล้ตัวและมีประโยชน์สำ
�หรับนักเรียนไทยทุกคน